Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45061
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณี เจตจำนงนุช | - |
dc.contributor.author | ประภาทิพย์ ภูนคร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2015-09-08T02:04:26Z | - |
dc.date.available | 2015-09-08T02:04:26Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45061 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลของการฝึกใช้เทคนิค Five-Step Model ที่มีต่อทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนประถมศึกษาปีที่ 5 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนกลุ่มที่ได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five-Step Model กับกลุ่มที่ไม่ได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five-Step Model กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบางบัว (เพ่งตั้งตรงจิตรวิทยาคาร) ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2555 จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five-Step Model จำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการเรียนการสอนแบบปกติ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โปรแกรมพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณด้วยเทคนิค Five-Step Model วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบผล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มที่ได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five-Step Model มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการฝึกและในระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. กลุ่มที่ได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five-Step Model มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการฝึกสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 3. กลุ่มที่ได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five-Step Model มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในระยะติดตามผลไม่แตกต่างจากหลังการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 แต่มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) study the effects of using the Five-Step Model on critical thinking of fifth grade students and 2) to compare critical thinking between the group of students using and not using the Five-Step Model. The samples were 60 fifth grade students in Bangbua (Pengtungtrongjitrwitthayakarn) school during academic year 2012. The samples were divided into two groups: an experimental group included 30 students using the Five-Step Model and a control group included 30 students not using the Five-Step Model involves 30. The research instruments were a test of critical thinking skill and the Five-Step model program to develop critical thinking skill. The data were analyzed by percentage, standard deviation, and t-test. The research findings were summarized as follows: 1) The group of students using the Five-Step Model had higher scores in post-test than the group of students not using the Five-Step Model at the .05 level of significance, 2) The group of students using the Five-Step Model had higher scores in post-test than in pre-test at the .05 level of significance, 3) The group of students using the Five-Step Model had critical thinking skill scores in the follow up test that were not different from the post-test scores at the .05 level of significance, but higher than the pre-test scores at the .05 level of significance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณในเด็ก | en_US |
dc.subject | Critical thinking in children | en_US |
dc.title | ผลของการใช้เทคนิค Five-step model ที่มีต่อทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 | en_US |
dc.title.alternative | Effects of using the five-step model on critical thinking of fifth grade students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
prapatip_po.pdf | 2.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.