Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ้ง ศรีอัษฎาพร-
dc.contributor.authorคันธิรา ฉายาวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-10T06:54:06Z-
dc.date.available2015-09-10T06:54:06Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45134-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีจุดประสงค์เพื่อสำรวจพฤติกรรมการสื่อสารที่ไม่สร้างสรรค์ จำแนกประเภทเนื้อหาและบริบทของการสื่อสารที่ไม่สร้างสรรค์ ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) วิเคราะห์ข้อความที่แสดงความคิดเห็นในเว็บไซต์ยอดนิยมของไทย ในช่วงเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 31 มกราคม 2556 และใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกกลุ่มตัวอย่างจากเครือข่ายออนไลน์จำนวน 54 คน เพื่อค้นหามูลเหตุจูงใจและผลกระทบของการสื่อสารที่ไม่สร้างสรรค์ในสื่อออนไลน์ที่ปรากฎอยู่ในเว็บไซต์ดังกล่าว เพื่อหามูลเหตุจูงใจและผลกระทบในการสื่อสารไม่สร้างสรรค์ในสื่อออนไลน์ ผลการวิจัยพบว่า จากการวิเคราะห์เนื้อหาในข้อความที่แสดงความคิดเห็นในเว็บไซต์ยอดนิยมของไทย จำนวน 13,171 ข้อความ ผู้วิจัยพบพฤติกรรมการสื่อสารที่ไม่สร้างสรรค์ในสื่อออนไลน์ที่ปรากฎอยู่ในเว็บไซต์ยอดนิยมดังกล่าวจำนวนทั้งสิ้น 4,837 จำนวน คิดเป็น 36.7 % ในจำนวนนี้สามารถจำแนกได้ 20 ประเภท และการสื่อสารที่ไม่สร้างสรรค์มีมูลเหตุจูงใจจากทั้งปัจจัยภายในและภายนอก ได้แก่ ความคิดเห็นที่แตกต่างทางการเมืรุ้ง ศรีอัษฎาพรอง อุปนิสัย อคติส่วนบุคคล สภาพสังคมและวัฒนธรรมส่งผลกระทบต่อตนเอง ผู้อื่น สังคมและประเทศชาติen_US
dc.description.abstractalternativeThis research was a qualitative study which aimed at investigating destructive communication behaviors and identifying types of the appeared destructive communication behaviors. The researcher utilized the method of content analysis on destructive messages posted in those websites. 54 in-depth interviews were conducted with subjects who were invited from online social network to provide qualitative data regarding motives of and impacts on those who posted the destructive messages in Thai popular websites. Results of the study revealed that 4,837 out of 13,171 posted messages (36.7%) were found to be destructive and could be classified into 20 categories. The study also reported that the subjects tended to believe that motives of those who posted destructive messages had to do with internal and external factors revolving around such issues as personal bias, conflicting opinions on politics, society, and culture. Negative impacts were found to be on both those who posted the destructive messages and those to whom the messages were referred at the personal, societal, and national levels.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1277-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเครือข่ายสังคมออนไลน์en_US
dc.subjectมารยาทในการใช้ออนไลน์en_US
dc.subjectเว็บ 2.0en_US
dc.subjectOnline social networksen_US
dc.subjectOnline etiquetteen_US
dc.subjectWeb 2.0en_US
dc.titleการสื่อสารที่ไม่สร้างสรรค์ในสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.title.alternativeDestructive communication in online social mediaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1277-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kantira_ch.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.