Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46345
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไตรวัฒน์ วิรยศิริ | en_US |
dc.contributor.author | ณัฐศิษฏ์ จุลินรักษ์ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-09-18T04:24:18Z | |
dc.date.available | 2015-09-18T04:24:18Z | |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46345 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 | en_US |
dc.description.abstract | สถาปัตยกรรมพุทธศาสนาในวัดนั้นมีหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างศาสนาและคนในสังคม โดยอีกนัยยะหนึ่งก็เป็นเครื่องแสดงออกถึงวัฒนธรรม เอกลักษณ์ วิถีชีวิต และความเป็นอยู่ของคนในชาติ ซึ่งภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญที่จะสืบสานองค์ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมไทยและสถาปัตยกรรมพุทธศาสนาในวัด จึงได้เกิดกระบวนการจัดการสถาปัตยกรรมไทยขึ้น แต่ปัจจุบันยังคงมีปัญหาต่างๆปรากฎขึ้นอยู่ เช่น ปัญหาเรื่องรูปแบบสถาปัตยกรรม ปัญหาด้านมาตรฐานความปลอดภัยของอาคาร เป็นต้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการงานสถาปัตยกรรมไทยในภาพรวม ซึ่งไม่ได้ศึกษาการบริหารจัดการเพียงโครงการใดโครงการหนึ่ง แต่จะทำการศึกษาผ่านกรณีศึกษาตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมพุทธศาสนาในรูปแบบไทยประเพณีและไทยประยุกต์ในช่วงปี พ.ศ.2538 – 2557 ซึ่งแบ่งกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติของผู้ออกแบบที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ แล้วทำการวิเคราะห์โดยอ้างอิงจากทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง พร้อมกับทำการสัมภาษณ์ความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญที่เป็นนักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรุปประเด็นปัญหาต่างๆ ผลการศึกษาพบว่าการจัดการสถาปัตยกรรมไทยในสถาปัตยกรรมพุทธศาสนานั้นควรที่จะมีการดำเนินงานโดยผู้ออกแบบที่ผ่านการศึกษาองค์ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมไทยมาอย่างดี และสามารถนำมาปรับใช้ในการออกแบบให้เข้ากับบริบทต่างๆได้อย่างเหมาะสม โดยในด้านการจัดการส่งเสริมสถาปัตยกรรมไทยในภาพรวมองค์กรภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการประสานงานร่วมกันมากขึ้น โดยได้สรุปประเด็นปัญหาและแนวทางการส่งเสริมใน 3 ประเด็นคือ 1.องค์กร หน่วยงานและบุคลากร 2.กระบวนการจัดการ 3.การดำเนินโครงการ จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสถาปัตยกรรมไทย ควรให้ความสำคัญและวางแผนที่จะพัฒนาส่งเสริมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งกระบวนการจัดการสถาปัตยกรรมไทยที่ดีนอกจากการวางแผน นั้นควรประกอบไปด้วย การติดตาม การควบคุม และการส่งเสริม โดยองค์กรวิชาชีพ และองค์กรการศึกษา ในเรื่องของ บุคลากร และองค์ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมไทย | en_US |
dc.description.abstractalternative | The Buddhist Architecture has important role to link between religious and human in the society. In other words, It has been identified cultural identity way of life and well-being of people in the nation. Thai architecture management has been concerned from both government sector and related agencies. They have been concerned the importance to preserve the knowledge of Thai architecture. The aims of this study is to investigate the overall of Thai architecture management through the case studies of Buddhist architecture in the period of B.E.2538-2557 ; traditional Thai architectural style. The samples were selected by characteristic of the designer who engaged in the project management. Then, the related theory and the interview with experts from academic and related agencies were analyzed to achieve the result. The outcome of this study were found that firstly, the management of Buddhist architecture should be implemented by the experts who have knowledge experience and can be applied to appropriated context. Secondly, there should be collaborated work between government and related agencies to support the overall of architecture management. Lastly there should have the policy to promote the Thai architecture’s knowledge for project manager and people. In Summary, Thai architecture management is important to the presence of Thai architecture. Not only the architects and the educational sector but also the related agencies whom related to Thai architecture should give priority to focus on planning and the development in Thai architecture management seriously. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1198 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สถาปัตยกรรมไทย | |
dc.subject | สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา -- ประวัติ -- 2538-2557 | |
dc.subject | การจัดการ | |
dc.subject | Architecture, Thai | |
dc.subject | Buddhist architecture -- History -- 1995-2014 | |
dc.subject | Management | |
dc.title | การจัดการสถาปัตยกรรมไทย : กรณีศึกษา สถาปัตยกรรมพุทธศาสนาในวัด พ.ศ.2538 - ปัจจุบัน (พ.ศ.2557) | en_US |
dc.title.alternative | THAI ARCHITECTURE MANAGEMENT : A CASE STUDY OF BUDDHIST ARCHITECTURE IN WATS, 1995 - PRESENT (2014) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected],[email protected] | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2014.1198 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5773312925.pdf | 4.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.