Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47189
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหยกฟ้า อิศรานนท์-
dc.contributor.authorฤทัยชนก จงเสถียร-
dc.contributor.authorวีรพล ประทีปวรคุณ-
dc.contributor.authorสุรดา สันฑ์หิรัญชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2016-02-17T12:36:16Z-
dc.date.available2016-02-17T12:36:16Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.otherPsy 141-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47189-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2011en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ บุคลิกภาพตราสินค้า และเจตคติต่องานโฆษณา โดยมีกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบุคคลภายนอก ทั้งหมด 385 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) มาตรวัดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ 2) มาตรวัดบุคลิกภาพตราสินค้า 3) มาตรวัดเจตคติต่อชิ้นงานโฆษณาและใช้สถิติวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลิกภาพแบบเป็นมิตร (Agreeableness) มีสหสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้าแบบจริงใจ(Sincerity) (r = .29, p < .01) 2. บุคลิกภาพแบบเปิดเผยตนเอง (Extraversion) มีสหสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้าแบบน่าตื่นเต้น(Excitement)(r = .30, p < .01) 3. บุคลิกภาพแบบมีจิตสำนึก (Conscientiousness) มีสหสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้าแบบน่าเชื่อถือ (Reliable) (r = .27, p < .01) 4. บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ (Openness to experience) มีสหสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้าแบบลุ่มลึก (Sophistication) (r = .19, p < .01) 5. บุคลิกภาพแบบไม่มั่นคงทางอารมณ์ (Neuroticism) ไม่มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับการรับรู้บุคลิกภาพตราสินค้าแบบแข็งกระด้าง (Ruggedness)(r = .08, p > .05) 6. บุคลิกภาพแบบเป็นมิตร (Agreeableness) ไม่มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับเจตคติต่อโฆษณาสินค้าในรูปแบบจริงใจ (Sincerity)(r = .09, p > .05) 7. บุคลิกภาพแบบเปิดตัว (Extraversion) มีสหสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับเจตคติต่อโฆษณาสินค้าในรูปแบบที่น่าตื่นเต้น (Excitement) (r = .12, p < .05) 8. บุคลิกภาพแบบมีจิตสำนึก (Conscientiousness) มีสหสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับเจตคติต่อโฆษณาสินค้าในรูปแบบที่เชื่อถือ (Reliable) (r = .13, p < .05) 9. บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ (Openness to experience) มีสหสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับเจตคติต่อโฆษณาสินค้าในรูปแบบที่ลุ่มลึก (Sophistication) (r = .13, p < .01) 10. บุคลิกภาพแบบไม่มั่นคงทางอารมณ์ (Neuroticism) ไม่มีสหสัมพันธ์ทางบวกกับเจตคติต่อโฆษณาสินค้าในรูปแบบที่แข็งกระด้าง (Ruggedness) (r = .08, p >.05)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the relationships among big five personality, brand personality, and attitude toward advertisement. The subjects were 385 people. The instruments were 1) Big Five Personality Inventory 2) brand personality scale 3) Attitude toward advertisement scale. Pearson’s correlation was used for analzing. The results showed that: 1. Agreeableness was positively correlated with sincerity (r = .29, p < .01) 2. Extraversion was positively correlated with excitement (r = .30, p < .01) 3. Conscientiousness was positively correlated with reliable (r = .27, p < .01) 4. Openness to experience was positively correlated with sophistication (r = .19, p < .01) 5. Neuroticism was not positively correlated with ruggedness (r = .08, p >.05) 6. Agreeableness was not positive correlated with attitude toward sincerity’s advertisement (r = .09, p > .05) 7. Extraversion was positively correlated with attitude toward excitement’s advertisement (r = .12, p < .05) 8. Conscientiousness was positively correlated with attitude toward reliable’s advertisement (r = .13, p < .05) 9. Openness to experience was positively correlated with attitude toward sophistication’s advertisement (r= .13, p < .01) 10. Neuroticism was not positively correlated with attitude toward ruggedness’s Advertisement( r = .08, p > .05)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectบุคลิกภาพen_US
dc.subjectโฆษณา -- ชื่อตราผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectโฆษณา -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectPersonalityen_US
dc.subjectAdvertising -- Brand name productsen_US
dc.subjectAdvertising -- Psychological aspectsen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ บุคลิกภาพตราสินค้า และเจตคติต่องานโฆษณาen_US
dc.title.alternativeRelationships among big five personality, brand personality, and attitude toward advertisementen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
rutaichanok_ch.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.