Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47312
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวโรชา มหาชัย-
dc.contributor.advisorสัจพันธ์ อิศรเสนา-
dc.contributor.advisorพรรณพิศ สุวรรณกูล-
dc.contributor.authorสุรัสวดี มะโนทัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-03-18T10:56:19Z-
dc.date.available2016-03-18T10:56:19Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746344285-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47312-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลการรักษาภาวะติดเชื้อเยื้อบุช่องท้องชนิดปฐมภูมิในผู้ป่วยตับแข็ง ที่ ตอบสนองต่อการได้รับยา Ampicillin / Sulbactam ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ในระยะ 48 ชั่วโมงแรกแล้ว ด้วยยารับประทาน Sultamicillin กับยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำ Ampicillin / Sulbactam วิธีการวิจัย ผู้ป่วยโรคตับแข็งที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะติดเชื้อช่องท้องชนิดปฐมภูมิที่ได้รับยา Ampicillin / Sulbactam ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ 1.5 กรัมทุก 6 ชั่วโมง เป็นเวลา 48 ชั่วโมง และมี ascetic PMN count น้อยลงกว่าก่อนการรักษา โดยที่ไม่มีข้อห้ามต่อการใช้ยารับประทาน จะถูกนำมาศึกษาโดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มโดยวิธีการสุ่มกลุ่มที่ 1 ได้รับยา Ampicillin / Sulbactam ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ 750 มิลลิกรัมทุก 6 ชั่วโมง กลุ่มที่ 2 ได้รับยารับประทาน Sultamicillin 750 มิลลิกรัมทุก 6 ชั่วโมง เป็นเวลาอีก 5 วัน ติดตามอาการและผล ascetic PMN count เมื่อยาครบกำหนด และที่ 48 ชั่วโมงหลังหยุดยา และติดตามผู้ป่วยเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ผลการวิจัย ผู้ป่วยโรคตับแข็งที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะติดเชื้อช่องท้องชนิดปฐมภูมิที่ได้รับยา Ampicillin / Sulbactam ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ 1.5 กรัมทุก 6 ชั่วโมง ทั้งสินจำนวน 39 ราย มีผู้ป่วยที่อาการดีขึ้นและนำมาทำการศึกษาได้ 28 ราย อยู่ในกลุ่มที่ 1 จำนวน 13 ราย และกลุ่มที่ 2 จำนวน 15 ราย เมื่อได้รับยาครบพบว่า จำนวนผู้ป่วยที่มี ascetic PMN count ปกติ (250cell/cu.mm.) เท่ากับ 92.3% และ 86.6% ในกลุ่มที่ 1 และ 2 ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อติดตามผู้ป่วยกลุ่มนี้ต่อไปอีก 2 สัปดาห์ ผู้ป่วยกลุ่มที่ 1 จำนวน 12 ราย ไม่มีการกลับเป็นซ้ำเลย แต่พบการกลับเป็นซ้ำในผู้ป่วยกลุ่มที่ 2 จำนวน 5 ใน 13 รายคิดเป็น 38.5% ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.030) สรุป การใช้ยารับประทาน Sultamicillin ภายหลังการได้รับยา Ampicillin / Sulbactam ฉีดเข้าหลอดเลือดดำในการรักษาภาวะติดเชื้อเยื้อบุช่องท้องชนิดปฐมภูมิในผู้ป่วยตับแข็ง มีอัตราการตอบสนองในระยะแรกดีไม่แตกต่างจากการได้รับยาฉีด แต่พบว่าการกลับเป็นซ้ำมากกว่าen_US
dc.description.abstractalternativeObjective To compare the cffieacy between oral Sultamicillin and intravenous Ampicillin / Sulbactam in the treatment of spontaneous bacterial peritonitis (SBP) in cirrhotic patients patients after improvement with 48 hours treatment of intravenous Ampicillin / Sulbactam Method Cirrhotic patients with SBP were emrolled on the basis of their reduction of aseitie PMN count after 48 hours of intravenous Ampicillin / Sulbactam 1.5 g every 6 hr. and without contraindication for oral treatment, and then randomly assigned to receive either intravenous Ampicillin / Sulbactam or oral Sultamicillin 750 mg every 6 hr. for 5 days Paracentesis was done at the end of treatment, 48 hours after drug discontinuation or any time if climical deterioration was suspected. The patients were followed until 2 weeks after drug discontinuation. Result There were 39 cirrhotic patients diagnosed as SBP and received intravenous Ampicillin / Sulbactam 1.5g every 6 Hr. After 48 hours. 28 patients were randomized. 13 received intravenous Ampicillin / Sulbactam (group) and 15 received oral Sultamicillin (group 2). At the end of treatment, initial response (defined as normal ascetic PMN count) were 92.3%,86.6% respectively. There were 5 cases(38.5%) of relapse (defined as recurrence of aseitie PMN count more than 250 cell/cu.mm. within 2 weeks after drug discontinuation) in group 2 but none in group 1. (p = 0.030) Summary Intravenous Ampicillin / Sulbactam followed by oral Sultamicillin in the treatment of SBP in cirrhotic patients had as good initial response rate as intravenous treatment alone but had more relapse.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการใช้ยาen_US
dc.subjectตับแข็งen_US
dc.subjectการติดเชื้อen_US
dc.subjectแอมพิซิลลิน/ซัลเบคทัมen_US
dc.titleการใช้ยาชนิดรับประทาน Sultamicillin (UNASYNR) ในการรักษาภาวะติดเชื้อเยื่อบุช่องท้องชนิดปฐมภูมิen_US
dc.title.alternativeOral Sultamicillin (UNASYNR) in the treatment of spontaneous bacterial peritonitisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surasawadee_ma_front.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open
Surasawadee_ma_ch1.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Surasawadee_ma_ch2.pdf5.56 MBAdobe PDFView/Open
Surasawadee_ma_ch3.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open
Surasawadee_ma_ch4.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open
Surasawadee_ma_ch5.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open
Surasawadee_ma_ch6.pdf5.23 MBAdobe PDFView/Open
Surasawadee_ma_back.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.