Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48021
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พูนศรี เกตุจรูญ | - |
dc.contributor.advisor | โดม สุขวงศ์ | - |
dc.contributor.author | รังสิมา กุลพัฒน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-07T02:58:58Z | - |
dc.date.available | 2016-06-07T02:58:58Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746365606 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48021 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เรื่องแผลเก่า : จากนวนิยายสู่ภาพยนตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดัดแปลงนวนิยาย เป็น ภาพยนตร์ โดยนำภาพยนตร์เรื่องแผลเก่าเป็นกรณีศึกษา อีกทั้งยังมีความประสงค์จะศึกษาวิวัฒนาการความสัมพันธ์ระหว่างนวนิยายกับภาพยนตร์ไทย และการดัดแปลงนวนิยายสู่ศิลปะแขนงอื่นๆ จาการศึกษาพบว่า นวนิยายและภาพยนตร์ไทยยังมีความสัมพันธ์กัน นับตั้งแต่คนไทยสามารถสร้างภาพยนตร์ได้ด้วยตนเอง ซึ่งสนับสนุนกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ความสัมพันธ์กันของนวนิยายและภาพยนตร์เป็นไปในทางแลกเปลื่ยนและเกื้อกูลกัน นวนิยายได้รับการนำไปสร้างภาพยนตร์ และนักประพันธ์มักจะมีความสัมพันธ์กับการสร้างภาพยนตร์ มีบทบาทเป็นผู้ประพันธ์ดนตรี นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ จากการศึกษาประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างนวนิยายกับภาพยนตร์ของผู้วิจัย พบว่า นวนิยายเรื่องแผลเก่าเป็นนวนิยายเรื่องที่ 2 ที่ได้รับการนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ เมื่อ พ.ศ. 2483 และยังได้รับการดัดแปลงสู่ศิลปะแขนงต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ และดนตรี ผู้วิจัยพบว่าการดัแปลงนวนิยายเรื่องแผลเก่าสู่ภาพยนตร์นั้นเกิดความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเนื้อหาและรายละเอียดตั้งแต่ พ.ศ. 2483, 2497 และ 2520 ตามการตีความของผู้สร้างภาพยนตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเสียชีวิตของเรียม ที่แตกต่างกันไปจากบทประพันธ์เดิม อย่างไรก็ตามในการศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายเรื่องแผลเก่ากับภาพยนตร์ฉบับที่สมบูรณ์ที่สุดคือ การดัดแปลงจากนวนิยายสู่ภาพยนตร์ของเชิด ทรงศรี ผู้วิจัยพบว่ามีองค์ประกอบสำคัญ คือ ด้านศิลปะภาพยนตร์ และการพาณิชย์ ที่มุ่งนำวัฒนธรรมไทยไปเผยแพร่ยังต่างประเทศ พบว่า นวนิยายเรื่องแผลเก่านั้นมีความเหมาะสมต่อการนำไปดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ ทั้งด้านความเป็นไทย และการเป็นนวนิยายที่มีเนื้อหาสะเทือนอารมณ์ ซึ่ง เชิด ทรงศรี สามารถถ่ายทอดอารมณ์สะเทือนใจให้ผู้ชมได้รับเช่นเดียวกับที่ผู้อ่านได้รับในนวนิยายด้วยศิลปะของภาพยนตร์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This thesis, Plae-Kao: From Novel into Film, is a case study to see just how a novel, Plae-Kao, is adopted for the screen. This study will also the evolution of the relationship of the Thai modern novel and film as well as adapting the Thai novel by other art forms and media. By examining the history of the Thai modern novel and film, the researcher found the Thai modern novel and film began to develop an ever closer relationship since the founding of the Thai film industry, after which they seem to evolve together as composers, script writers, directors and producers selected more and more novels upon which to base their films. Plae-Kao was the second Thai novel to be adapted to film in 1940 after which it was also used as the inspiration for movies, television dramas and music. The three film versions, 1940, 1954 and 1977, all present slightly different adaptations, depending on the period it was produced, as well as the writers’, directors’ and actors’ interpretations. This is particularly evident in the death of Riem. After examining all documents and conducting intense research, this researcher believes the best film adaptation of Plae-Kao was by Cherd Soongsri. For a film to succeed, it must be both artistic and commercial. It must be able to convey Thai culture to foreign audiences, and this researcher believes Cherd Soongsri’s Plae-Kao does this best while it also reflects his own emotions just as a novel should for its readers. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | นวนิยายไทย | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์ไทย | en_US |
dc.subject | แผลเก่า -- ประวัติและวิจารณ์ | en_US |
dc.title | แผลเก่า : จากนวนิยายสู่ภาพยนตร์ | en_US |
dc.title.alternative | Plae-kao : from novel into film | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วรรณคดีเปรียบเทียบ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rungsima_ku_front.pdf | 765.85 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungsima_ku_ch1.pdf | 521.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungsima_ku_ch2.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungsima_ku_ch3.pdf | 4.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungsima_ku_ch4.pdf | 3.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungsima_ku_ch5.pdf | 8.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rungsima_ku_back.pdf | 3.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.