Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48307
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.advisorสุพัฒน์ สุกมลสันต์-
dc.contributor.authorวรนุช แหยมแสง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T06:54:38Z-
dc.date.available2016-06-08T06:54:38Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9745841757-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48307-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนากระบวนการตรวจสอบความเป็นเอกมิติของแบบสอบที่ได้จากแนวคิด 3 วิธี คือ (1) ดัชนี ER พัฒนามาจากค่าไอเก็นพล๊อต (2) ดัชนี ABT พัฒนามาจากการทดสอบด้วยไบซีเรียล และ (3) ดัชนี AG พัฒนามาจากดัชนีความเป็นเอกพันธ์ของกรีน การศึกษาครั้งนี้ใช้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย จำนวน 1,000 คน แบบสอบที่ใช้ในการวิจัย มี 2 วิชา คือ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ โดยมีการสร้างแบบสอบ จำนวน 15 ข้อ ให้มีความเป็นเอกมิติลดหลั่นลงมา การตรวจสอบคุณภาพของดัชนีบ่งชี้ ได้แก่ การตรวจสอบความเป็นเอกมิติจากการเปรียบเทียบค่าความสอดคล้องกับข้อมูล (GFT) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ด้วยโมเดล MIMIC และการเปรียบเทียบความไวในการบ่งชี้ความเป็นเอกมิติของดัชนีที่พัฒนาขึ้นและดัชนีเดิม ผลการวิจัยพบว่า ดัชนีบ่งชี้ความเป็นเอกมิติของแบบสอบที่มีคุณภาพดีที่สุด คือ ดัชนี ER ซึ่งสามารถบ่งชี้ความเป็นเอกมิติของแบบสอบได้ สำหรับแบบสอบที่มีเนื้อหาและความยาวต่างกัน ส่วนดัชนีอื่นๆ ยังไม่มีหลักฐานเพียงพอที่จะสรุปว่าบ่งชี้ความเป็นเอกมิติของแบบสอบได้ดีen_US
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this study was to develop the procedure of three indices for testing unidimensionality of a test namely 1) ER Index from eigen values plot, 2) ABT Index from biserial test and 3) AG Index from Green’s homogeneity index. In the study, 1000 Prathom Suksa 5 students were used as subject and 2 tests, one was a mathematic test and the other was an English test , were used. Each test consisted of 15 items which were contaminated by the other test systematically to make its unidimensionality impure. The 3 developed indices were calculated and compared with the original ones and GFI resulted from MIMIC model to test their fitness and sensitivity. It was found that of all 3 indices, ER Index was the best for testing unidimensionality of a test when its content and length varied. There was not sufficient evidence to prove that the other 2 indices were good for a such testing.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข้อสอบ -- ความเป็นเอกมิติ -- การวัดen_US
dc.subjectข้อสอบ -- การสร้างen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleการพัฒนากระบวนการตรวจสอบความเป็นเอกมิติของแบบสอบen_US
dc.title.alternativeA development of procedure for assessing unidimensionality of a testen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Woranuch_ya_front.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Woranuch_ya_ch1.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open
Woranuch_ya_ch2.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open
Woranuch_ya_ch3.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open
Woranuch_ya_ch4.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open
Woranuch_ya_ch5.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Woranuch_ya_back.pdf10.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.