Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49145
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิริวรรณ พัฒนาฤดี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-29T08:51:59Z | - |
dc.date.available | 2016-06-29T08:51:59Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.other | วท 15 015816 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49145 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาการเตรียมสารเคลือบจากไคโตซานผสมสารเชื่อมขวาง 3 ชนิดคือ กรดกลูตาริก กรดซิตริก และกรดกรดบิวเทนเตตระคาร์บอกซิลิก เติมที่ปริมาณร้อยละ 50, 100, 150 เทียบกับน้ำหนักของไคโตซาน ผลพบว่าสารเคลือบผิวไคโตซานผสมสารเชื่อมขวาง สามารถปรับปรุงสมบัติกระดาษให้ดีขึ้น การเคลือบผิวผสมสารเชื่อมขวางที่ร้อยละ 50 ส่งผล ให้กระดาษมีความมันวาวและความเรียบเพิ่มขึ้นสูงสุด กรดกลูตาริกให้ความเรียบสูงสุดและ กรดบิวเทนเตตระคาร์บอกซิลิกให้ความมันวาวสูงสุด กระดาษหลังเคลือบผิวผสมสารเชื่อม ขวางมีสมบัติเชิงกายภาพที่ดีขึ้น คือ การดูดซึมน้ำต่ำลง ความพรุนของกระดาษต่ำลง ความต้าน ทานต่อแรงดึงและแรงดันทะลุสูงขึ้น โดยปริมาณการเติมที่ร้อยละ 50 ของกรดบิวเทนเตตระ คาร์บอกซิลิกให้การดูดซึมน้ำต่ำสุด กรดซิตริกให้ความต้านทานต่อแรงดึงสูงสุด กรดกลูตาริกที่ ปริมาณร้อยละ 100 ส่งผลให้ได้ความต้านทานต่อแรงดันทะลุสูงสุด สมบัติผิวหน้าของสาร เคลือบผิวผสมสารเชื่อมขวางมีความชอบน้ำ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study focused on preparation of chitosan coating crosslinked with 3 kinds of cross-linking agents, i.e. glutaric acid, citric acid, and butanetetracarboxylic acid. The concentrations were varied at 50%, 100%, and 150%wt based on chitosan weight. The results showed that the properties of coated papers were improved. The highest gloss and smoothness were obtained at 50%wt of butanetetracarboxylic acid and glutaric acid, respectively. Physical properties of the coated paper were also elevated, such as decreased water absorption, lower air permeability, higher tensile and bursting strength. At 50%wt, it was found that butanetetracarboxylic acid yielded the lowest water absorption, whereas citric acid gave the highest tensile strength. The highest bursting strength was obtained with glutaric acid at 100%wt. Surface property of the crosslinked coating was hydrophilic. | en_US |
dc.description.sponsorship | กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไคโตแซน | en_US |
dc.subject | กระดาษ | en_US |
dc.subject | กระดาษ -- การทดสอบ | en_US |
dc.subject | กรดมะนาว | en_US |
dc.title | ผลของสารเชื่อมขวางในสารเคลือบผิวไคโตซานสำหรับกระดาษ : รายงานวิจัย | en_US |
dc.title.alternative | Effect of cross-linking agents on chitosan coating for paper | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Siriwan_ph_res.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.