Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50137
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิชชุตา วุธาทิตย์ | en_US |
dc.contributor.author | ภูวนัย กาฬวงศ์ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-11-30T05:43:28Z | |
dc.date.available | 2016-11-30T05:43:28Z | |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50137 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบการแสดง ตลอดจนบริบททางสังคมที่เกี่ยวข้องกับนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยในการแสดงงานวลัยราตรี พ.ศ. 2532 ด้วยวิธีการวิจัยในเชิงคุณภาพโดยใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลด้านเอกสาร (Review Data) และการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Field Data) ผลการวิจัยพบว่านาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยในการแสดงงานวลัยราตรี พ.ศ. 2532 เป็นการสร้างสรรค์โดยใช้นาฏยศิลป์ไทยได้แก่ โนรา โขน การฟ้อนรำแบบเหนือ ผสมผสานกับการแสดงแฟชั่นโชว์โดยใช้รูปแบบของขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เป็นการนำเสนอรูปแบบ การแสดงที่สะท้อนถึงขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณีที่มีความเจริญรุ่งเรืองของไทย ได้แก่ ประเพณีลอยกระทง ซึ่งเป็นประเพณีที่มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา และสืบทอดต่อกันมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน โดยรูปแบบการแสดงประกอบด้วย บทการแสดง ลีลาและท่าทางการเคลื่อนไหว นักแสดง เครื่องแต่งกาย ดนตรีที่ใช้ในการแสดง ฉาก สถานที่ในการแสดง อุปกรณ์ประกอบการแสดง แสงที่ใช้ในการแสดง เสียงที่ใช้ในการแสดง ตลอดจนการฝึกซ้อม ซึ่งผู้วิจัยได้นำรูปแบบของการแสดงมาเป็นแนวทางศึกษาและวิเคราะห์ผลงานการแสดงนาฏยศิลป์ร่วมสมัย อีกทั้งการแสดงนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยในการแสดงงานวลัยราตรียังมีบริบททางด้านสังคม อาทิ สังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ คุณธรรมและจริยธรรม การเมืองการปกครอง เป็นต้น ซึ่งถือได้ว่านาฏยศิลป์สร้างคุณค่าให้กับสังคมอีกทางหนึ่ง ตลอดจนมุ่งเน้นวิธีการสร้างสรรค์และออกแบบผลงาน เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สร้างสรรค์รุ่นใหม่ๆ ได้นำไปใช้ในอนาคต | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this thesis are to study and analyze patterns and relevance of Thai contemporary dance at the Walai Night Performance of 1989. Data gathering sources include secondary data and field study. Findings shown that Thai contemporary dance, Walai Night Performance of 1989 was created by applying various Thai performing arts, including Manorah and Khon which are northern dance, in combination with fashion show in form of The Royal Parade. This performance expressed the prosperity of Thai traditions, Loy Krathong Festival, This is a tradition that has exsited since Sukhothai, Ayutthaya and Rattanakosin in the present day. Cultures, and norms. The performance consisted of scripts, movements, actors, costumes, music, background, location, props, light, sound, and rehearsal. Researcher has studied performance patterns to study and analyze contemporary performing arts. Thai contemporary dance at the Walai Night Performance of 1989 illustrated various social contexts in terms of cultures, economy, moral and ethics, political administration, etc. Creativity and design of performing arts has led the way of dance inventor in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.612 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | นาฏศิลป์ไทย | |
dc.subject | นาฏยประดิษฐ์ | |
dc.subject | Dramatic arts, Thai | |
dc.subject | Choreography | |
dc.title | นาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยในการแสดงงานวลัยราตรี พ.ศ. 2532 | en_US |
dc.title.alternative | Thai contemporary dance at the Walai Night Performance of 1989 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นาฏยศิลป์ไทย | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected],[email protected] | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.612 | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5786605035.pdf | 4.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.