Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรา โพธิ์ไพฑูรย์en_US
dc.contributor.authorญาดา สามารถen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีen_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:06:17Z
dc.date.available2016-12-01T08:06:17Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50393
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนกับความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจของพนักงาน และเพื่อศึกษารูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจของบุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยศึกษาเปรียบเทียบระหว่างเจนเนอเรชันเอ็กซ์และเจนเนอเรชันวาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม ประกอบด้วยแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำของหัวหน้างาน ซึ่งประกอบด้วยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน และแบบสอบถามเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจ ซึ่งมีค่า Cronbach’s alpha ของแต่ละตัวแปรเท่ากับ 0.96, 0.78 และ 0.84 ตามลำดับ โดยมีแบบสอบถามที่สมบูรณ์และนำมาใช้ในการวิเคราะห์ผลทั้งสิ้น 372 ฉบับ คิดเป็นอัตราการตอบกลับร้อยละ 92.77 และใช้สถิติการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Pearson correlation) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า ทั้งภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจ และเมื่อทำการเปรียบเทียบระหว่างเจนเนอเรชันเอ็กซ์และเจนเนอเรชันวาย พบว่า ภาวะผู้นำทั้งสองรูปแบบมีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจในเจนเนอเรชันเอ็กซ์มากกว่าเจนเนอเรชันวายen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research aimed to analyze relationships among transformational leadership, transactional leadership and affective commitment and to investigate the effect of leadership styles on affective commitment of supporting staffs at Mahasarakham University. Comparison of different effect on Generation X and Generation Y staffs was also studied. Questionnaire was used as the instruments for data collection. The instruments were transformational leadership, transactional leadership and affective commitment questionnaires. These questionaires’ reliability was assessed based on Cronbach’s alphas. They are 0.96, 0.78 and 0.84 respectively. 372 questionnaires, accounting for 92.77 percent of response rate, were completely filled and used for data analysis for which Pearson Correlation and Multiple Regression Analysis were applied. The result showed that both transformational and transactional leadership were related to affective commitment and both transformational and transactional leadership have more effect on affective commitment of Generation X staffs than that of Generation Y.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.961-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเจนเนอเรชันเอ็กซ์
dc.subjectเจนเนอเรชันวาย
dc.subjectภาวะผู้นำ
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ
dc.subjectGeneration X
dc.subjectGeneration Y
dc.subjectLeadership
dc.subjectOrganizational commitment
dc.titleรูปแบบภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของเจนเนอเรชันเอ็กซ์และเจนเนอเรชันวายen_US
dc.title.alternativeEffect of leadership styles on organizational commitment of Generation X and Generation Yen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.961-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5681526026.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.