Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50676
Title: | THE EFFECT OF SUPPORTIVE EDUCATIVE NURSING PROGRAM ON HbA1c LEVEL IN VIETNAMESE WITH UNCONTROLLED TYPE 2 DIABETES MELLITUS |
Other Titles: | ผลของโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมโรคไม่ได้ ในชาวเวียดนาม |
Authors: | Nguyen Thi Minh Chinh |
Advisors: | Sureeporn Thanasilp Sunida Preechawong |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Nursing |
Advisor's Email: | [email protected],[email protected],[email protected] [email protected] |
Subjects: | Nursing Diabetics -- Vietnam Diabetics -- Counseling Blood sugar -- Control การพยาบาล เบาหวาน -- ผู้ป่วย -- เวียดนาม เบาหวาน -- ผู้ป่วย -- การให้คำปรึกษา น้ำตาลในเลือด -- การควบคุม |
Issue Date: | 2015 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | A randomized controlled trial aimed to determine the effect of a supportive educative nursing program (SENP) on Glycated hemoglobin (HbA1c) level in Vietnamese with uncontrolled type 2 diabetic mellitus was conducted in outpatient clinic at Namdinh General Hospital, Vietnam, from October 2015 to January 2016. Ninety two persons with uncontrolled type 2 diabetes aged over 18 years were randomly allocated to two groups: intervention (n= 46), and control (n=46). The experimental group received supportive educative nursing program which consisted of 5 weekly sessions of education and 11 weekly telephone calls. The control group received only routine care. A blood sample was analyzed to determine HbA1c level at baseline and 3 months after. Totally eighty four people with type 2 diabetes: intervention (n=41) and control group (n=43) completed study. The finding showed that the mean of HbA1c level in experimental group was significantly decreased at 3 months after undergoing program (t=5.53, p<.05). The mean of HbA1c level at 3 months after baseline in the experimental group was significantly lower than that of the control group (t=3.27, p<.05). The supportive educative nursing program with active participation strategy is the best method to help patients increase their self-care agency in order to improve their glycemic control. |
Other Abstract: | การวิจัยแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อระดับ HbA1c ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมโรคไม่ได้ เก็บข้อมูลในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลนามดิ๋น ประเทศเวียดนาม ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมโรคไม่ได้ อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 92 คน แบ่งกลุ่มแบบสุ่มเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 46 คน ซึ่งได้รับโปรแกรมการพยาบาลแบบให้ความรู้เป็นเวลาต่อเนื่อง 5 สัปดาห์และโทรศัพท์ติดตามเพื่อให้การสนับสนุน เป็นเวลา 11 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมจำนวน 46 คน ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างได้รับการเจาะเลือดเพื่อประเมินระดับ HbA1c ในเบื้องต้นและภายหลังการได้รับโปรแกรม 3 เดือน โดยมีกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 84 คน ที่เข้าร่วมการวิจัยจนเสร็จสิ้น แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 41 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 43 คน ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยของระดับ HbA1c ในกลุ่มทดลองลดลงอย่างมีนัยสำคัญในเดือนที่ 3 ภายหลังได้รับโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ (t =5.53, p<.05) ค่าเฉลี่ยของระดับ HbA1c ในกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญในเดือนที่ 3 เมื่อเทียบกับผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดเบื้องต้น (t =3.27, p<.05) โปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ร่วมกับการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังของพยาบาลเป็นแนวทางที่ดีที่จะช่วยเพิ่มความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยในการควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้ |
Description: | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2015 |
Degree Name: | Doctor of Philosophy |
Degree Level: | Doctoral Degree |
Degree Discipline: | Nursing Science |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50676 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.291 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2015.291 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5477406736.pdf | 3.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.