Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสกลรัชต์ แก้วดีen_US
dc.contributor.advisorพงชัย หาญยุทธนากรen_US
dc.contributor.authorธนกร อรรจนาวัฒน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:10:12Z
dc.date.available2016-12-02T02:10:12Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51076
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้เป็นกลุ่มที่มีต่อความสามารถในการสื่อสารวิทยาศาสตร์ 2) ศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้เป็นกลุ่มที่มีต่อความสามารถในการทำงานเป็นทีม กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้นโดยมีรูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มเดียววัดสองครั้ง มีการเก็บรวบรวมข้อมูลความสามารถในการสื่อสารวิทยาศาสตร์และการทำงานเป็นทีมของนักเรียนก่อนและหลังเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1) แบบประเมินความสามารถในการสื่อสารวิทยาศาสตร์ โดยครูและบุคคลทั่วไปเป็นผู้ประเมิน 2) แบบประเมินความสามารถในการทำงานเป็นทีม โดยนักเรียนประเมินตนเอง เพื่อนเป็นผู้ประเมิน และครูเป็นผู้ประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าเฉลี่ยร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารวิทยาศาสตร์ทั้งด้านการพูดและการเขียนอยู่ในระดับพอใช้ 1.1) การสื่อสารวิทยาศาสตร์ด้านการพูด องค์ประกอบที่นักเรียนมีความสามารถในระดับดี คือ ภาษาและสิ่งแทนความ และระดับพอใช้ คือ เนื้อหาและบริบท 1.2) การสื่อสารวิทยาศาสตร์ด้านการเขียน องค์ประกอบที่นักเรียนมีความสามารถในระดับดี คือ ภาษา และระดับพอใช้ คือ เนื้อหา บริบท และสิ่งแทนความ 2) นักเรียนมีความสามารถในการทำงานเป็นทีมอยู่ในระดับดีen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to examine the effects of group investigation on 1) students' science communication abilities, and 2) students' teamwork abilities. The target group was eleventh-grade students from a large secondary school in Bangkok. The design of this pre-experimental research was one group pretest-posttest design. The data of students' science communication and teamwork abilities were collected before and after the instruction. Two research instruments were used: 1) science communication evaluation forms for teacher and general publics; and 2) teamwork evaluation forms for students’ self and peer evaluation, and teacher evaluation. All collected data were analyzed through arithmetic mean, percentage mean, and standard deviation. The research findings were as follows: 1) Spoken and written science communication abilities of these students were rated at a moderate level. 1.1) For spoken science communication, language and representation abilities were rated at a good level, while content and context abilities were rated at a moderate level. 1.2) For written science communication, language ability was rated at a good level, while content, context, and representation abilities were rated at a moderate level. 2) Teamwork ability of these students was rated at a good level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1148-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
dc.subjectการทำงานเป็นทีม
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
dc.subjectCommunication in science
dc.subjectInquiry-based learning
dc.subjectTeams in the workplace
dc.subjectHigh school students
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการสื่อสารวิทยาศาสตร์และการทำงานเป็นทีมโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้เป็นกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeDevelopment of science communication and teamwork abilities of eleventh grade students using group investigationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected],[email protected],[email protected]en_US
dc.email.advisor[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1148-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5783439627.pdf5.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.