Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51451
Title: บทบาทและความสำคัญของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในด้านการเกษตร
Other Titles: Role and importance of amphibian in agriculture
Authors: วิเชฏฐ์ คนซื่อ
Email: [email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: กบ
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
Issue Date: 2555
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: โครงการศึกษาบทบาทและความสำคัญของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในด้านการเกษตรจะเน้นการศึกษาข้อมูลด้านเพาะเลี้ยงสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกบางชนิดที่สำคัญในทางการเกษตรทั้งในแง่การเพาะเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารและการควบคุมแมลงในพื้นที่เกษตรกรรม โดยจะค้นหาวิธีการเพิ่มการเพาะเลี้ยงด้วยอาหารธรรมชาติเพื่อผลิตเป็นกบอินทรีย์ เป็นการลดต้นทุนการผลิตและส่งเสริมการเพาะเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมของเกษตรกรนอกฤดู ส่วนบทบาททางด้านการควบคุมแมลงในพื้นที่ทำการเกษตรเป็นการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงในพื้นที่เกษตรเพื่อใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืช ในการศึกษาครั้งนี้ศึกษาการใช้ปลวกเป็นอาหารทางเลือกในการเพาะเลี้ยงกบนา ทำการเก็บรวบรวมปลวกที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติ 2 วิธีคือ การใช้หลุมดักและการวางกระสอบป่านบนพื้น พบว่า ทั้ง 2 วิธี สามารถล่อปลวกให้เข้ามาอาศัยและเก็บรวบรวมเป็นอาหารกบได้ แต่วิธีการวางกระสอบป่านบนพื้นจะทำให้การเก็บรวบรวมปลวกได้ง่ายกว่า และหลังจากนั้นทำการเพาะเลี้ยงกบจนได้กบขนาดเล็กและนำปล่อยกลับคืนสู่ธรรมชาติเพื่อเป็นการเพิ่มจำนวนของกบในธรรมชาติได้
Other Abstract: The studies of the role and importance of amphibians for agriculture project emphasized on the aspects of production of some selected amphibians as food and utilization of amphibians in controlling insect pests in agricultural area. This project has developed the methods using naturally available food to produce organic frogs in order to promote the production of frogs in the non-breeding season and to reduce the production cost. In the aspects of controlling insect pests in agricultural area, the frog production on location of the cultivating area has been utilized. In this study, termites have been used as an alternative food in frog production. Locally available termites were collected through the 2 methods of pitfall trap and placing gunny sac on the ground. Both collecting methods can effectively trap the substantial termites for feeding frogs. However, the gunny sac method allowed the easiercollection of termites. This approach was proven to be able to raise a sizable number of frogs which were later released to repopulate the natural habitat.
Discipline Code: 0110
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51451
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wichase_kh_2555.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.