Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51479
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รมย์ ภิรมนตรี | |
dc.date.accessioned | 2017-01-16T02:09:32Z | |
dc.date.available | 2017-01-16T02:09:32Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.citation | วารสารรัสเซียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 6, 2 (2558), 1-50 | en_US |
dc.identifier.issn | X000-059X | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51479 | |
dc.description.abstract | บทความนี้จะกล่าวถึงอาณาจักรรัสเซียโบราณตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในช่วงที่อาณาจักรเคียฟได้แตกเป็นอาณาจักรของเจ้าชายหลายอาณาจักร เนื่องจากการขาดความสามัคคีและเห็นแก่ตัวของบรรดาเจ้าชายทั้งหลาย ทำให้อาณาจักรได้สูญเสียความเป็นเอกราชแก่มองโกล ที่ได้ยกกองทัพเข้ามาโจมตีและยึดครองอาณาจักรรัสเซียโบราณอยู่นานถึง 243 ปี ดังนั้นเนื้อหาของบทความนี้จึงอยู่ในช่วงเวลาที่อาณาจักรรัสเซียโบราณอยู่ภายใต้แอกของมองโกลและจบลงในช่วงที่ประเทศได้รับอิสรภาพ สาระโดยรวมของบทความกล่าวถึงชีวิตและผลงานของเจ้าชายรัสเซีย 11 พระองค์ที่เคยเป็นเจ้าชายผู้ครองเมืองมอสโก นับตั้งแต่เจ้าชายดานีล อลิกซานดราวิซ ซึ่งได้ปกครองเมืองมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1263 จนกระทั่งสิ้นสุดรัชสมัยเจ้าชายอีวานที่ 4 ในปี ค.ศ. 1584 ในขณะเดียวกันบทความจะกล่าวถึงการเกิดขึ้นของเมืองมอสโก ซึ่งเกิดจากการขยายตัวของอาณาจักรของเจ้าชายแห่งลาดีมิร์ ในช่วงที่เมืองวลาดีมิร์เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรรัสเซียโบราณ เจ้าชายแห่งมอสโกต้องต่อสู้กับเจ้าชายแห่งเมืองใหญ่ๆ หลายเมือง เพื่อให้ได้หนังสือแต่งตั้งจากข่านแห่งมองโกลให้เป็นตัวแทนในการปกครองและเก็บส่วยส่งให้ข่าน ต่อมาตั้งแต่ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 14 อาณาจักรเจ้าชายแห่งมอสโกได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้นำชาวรุสและมอสโกกลายเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรจึงได้ผนวกเมืองวลาดีมิร์ซึ่งอยู่ใกล้ให้อยู่ภายใต้การปกครองของเจ้าชายแห่งมอสโก อีกทั้งยังได้ผนวกเมืองอื่นๆ ให้มาขึ้นตรงต่อมอสโก ทำให้อาณาจักรรุสกลับมาเป็นรัฐที่มีเอกภาพและเอกราชในที่สุด | |
dc.description.abstractalternative | This article deals with the Ancient Russian Empire from the early 13th Century when Kiev was split into small kingdoms and ruled by Russian princes. Due to the lack of unity and the selfishness of these princes, these kingdoms were lost to the Mongols who sent troops to attack them and took control of the Russian Empire for 243 years. This article begins with a presentation of the time when the Russian Empire was under the Mongol yoke ends with the time when it became independent. It presents the lives and work of eleven Russian princes who ruled Moscow, starting with the reign of Prince Alexandravich, who first ruled in 1263, until the end of the reign of Prince Ivan IV in 1584. The article also describes the establishment of the City of Moscow, which was encouraged by the expansion of the Empire under the rule of Prince Vladimir at the time when the City of Vladimir was the centre of the Ancient Russian Empire. The Prince of Moscow had to fight against many princes of major cities in order to obtain an appointment certificate from the Mongol Khan in order to represent the Khan in administration and to collect levies for him. Later, in the middle of the 14th century, the Prince of Moscow was selected to be leader of the Ruses and Moscow became the centre of the Empire. The City of Vladimir, which was close by, came under the rule of the Prince of Moscow. Other cities and towns were also annexed to Moscow, enabling the Ruse Empire to become unified and eventually gain independence. | |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | ศูนย์รัสเซียศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | รัสเซีย -- ประวัติศาสตร์ | en_US |
dc.title | อาณาจักรรัสเซียโบราณ: ยุคแห่งความแตกแยก | en_US |
dc.title.alternative | The ancient Russian empire: the time of disunity | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | |
Appears in Collections: | Arts - Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rom_Ph_Art_58_3.pdf | 2.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.