Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51977
Title: La Poétique Du Double Dans Gilles Et Jeanne De Michel Tournier
Other Titles: ประพันธศาสตร์แห่งทวิลักษณ์ในนวนิยายเรื่อง ฌิลส์ เอต์ ฌานน์ ของมิแชล ตูร์นิเยร์
Authors: Piriya Kajornsakbumpen
Advisors: Warunee Udomsilpa
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Arts
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: French fiction -- History and criticism
French literature -- History and criticism
นวนิยายฝรั่งเศส -- ประวัติและวิจารณ์
วรรณกรรมฝรั่งเศส -- ประวัติและวิจารณ์
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Cette étude est destinée à analyser le thème du double dans la construction du texte et les éléments romanesques tels que le temps, l’espace et les personnages dans Gilles et Jeanne de Michel Tournier. Le double dans Gilles et Jeanne comprend deux aspects différents qui coexistent. Il peut signifier aussi une entité qui possède deux traits opposés en même temps ou bien deux entités qui peuvent être comparées d’une manière superposée, complémentaire, oppositionnelle ou cachée. Cette notion explique la construction du texte dans les perspectives suivantes. Sur le plan narratif, Michel Tournier fait référence aux textes antérieurs : la Bible, la mythologie gréco-latine, les récits légendaires et l’histoire. Le caractère double se manifeste également dans les éléments spatio-temporels et chez les personnages du récit. Sur le plan discursif, le double présente, à travers la vue carnavalesque, une critique visant les institutions ou les normes établies.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์แนวคิดเรื่องทวิลักษณ์ที่ปรากฏในกลวิธีการสร้างตัวบท และองค์ประกอบของเรื่องเล่าซึ่งได้แก่ ตัวละคร สถานที่ เวลา และแก่นเรื่อง ในนวนิยายเรื่อง ฌิลส์ เอต์ ฌานน์ ของมิแชล ตูร์นิเยร์ ทวิลักษณ์คือลักษณะสองแบบที่ปรากฏอยู่ร่วมกันหรือในเวลาเดียวกันภายในสิ่งหนึ่ง และอาจหมายถึงสิ่งหนึ่งที่มีสองด้าน หรือภาวะของสิ่งสองสิ่งที่คล้ายคลึงกัน มีธรรมชาติเดียวกัน จับคู่เข้าด้วยกันได้ในลักษณะเติมเต็ม ตรงข้าม ซ้อนกัน หรือแฝงเร้น แนวคิดเรื่องทวิลักษณ์ดังกล่าวนี้นำมาใช้อธิบายการสร้าง ตัวบทนวนิยายเรื่อง ฌิลส์ เอต์ ฌานน์ ได้ทั้งในมิติของการเล่าเรื่องและในมิติของเรื่องเล่า ในมิติของการเล่าเรื่อง มิแชล ตูร์นิเยร์นำตัวบทที่มีอยู่ก่อนแล้วมาแทรกและซ้อนเรื่อง ฌิลส์ เอต์ ฌานน์ ตัวบทดังกล่าวได้แก่ เทพปกรณัมกรีกโรมัน ตำนานจากพระคัมภีร์ไบเบิล ตำนานพื้นบ้าน และประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส ในมิติของ เรื่องเล่า มิแชล ตูร์นิเยร์ใช้แนวคิดเรื่องทวิลักษณ์ในองค์ประกอบต่างๆของนวนิยาย อาทิ ตัวละคร สถานที่ เวลา และแก่นเรื่อง ลักษณะทวิลักษณ์ที่ปรากฏในนวนิยายเรื่องนี้เสนอการวิพากษ์สถาบันหรือแนวคิดกระแสหลัก ผ่านมุมมองการสลับบทบาท
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51977
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1714
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1714
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piriya_ka.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.