Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52177
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จินตวีร์ คล้ายสังข์ | en_US |
dc.contributor.advisor | อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง | en_US |
dc.contributor.author | พัทธนันท์ บุตรฉุย | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-03-03T03:01:45Z | - |
dc.date.available | 2017-03-03T03:01:45Z | - |
dc.date.issued | 2559 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52177 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการแบ่งปันความรู้ออนไลน์โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบร่วมกับเทคนิคการวิเคราะห์อนาคตเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต สาขาการจัดการ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต สาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จำนวน 39 คน ระยะเวลาในการทดลอง 7 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ ซึ่งวัดจากการเขียนแผนธุรกิจก่อนและหลังเรียนและแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจก่อนและหลังเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐานด้วยค่า t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของการแบ่งปันความรู้ออนไลน์ฯ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1) สถานการณ์การเรียนรู้ที่ท้าทาย 2) สาระความรู้ 3) บุคคล 4) เทคโนโลยีและการสื่อสาร 5) เครื่องมือสนับสนุนการคิด 6) การประเมินผล 2. ขั้นตอนของการรูปแบบการแบ่งปันความรู้ออนไลน์ฯ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) จุดประกายความคิด, 2) รู้ทิศทางอนาคต, 3) วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย, 4) สร้างสรรค์ความคิด, 5) พัฒนาความคิด, 6) นำเสนอและเผยแพร่ 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการแบ่งปันความรู้ออนไลน์ฯ พบว่านิสิตนักศึกษามีคะแนนการเขียนแผนธุรกิจและคะแนนประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจ หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research were to develop the online knowledge sharing model using design thinking approach and future scenarios analysis techniques to enhance business creativity for undergraduate management students. The sample were 39 undergraduates management students from the School of Management and Economics at Aussumption University. The experiment was carried out for 7 weeks. The research instruments were pretest and posttest on the business creativity and self-evaluation forms in business creativity. The data were analyzed by mean, standard deviation, and t-test dependent. The research findings were as follows: 1. The online knowledge sharing model consisted of six components:1) Challenging Scenarios, 2) Contents, 3) Personnel, 4) Communication and Technology, 5) Thinking tools, and 6) Evaluation. 2. The processes of the knowledge management model consisted of six steps: 1) Cultivate inspiration 2) Analyze business future 3) Analyze target group 4) Create idea 5) Develop idea 6) Present and publish group work. 3. The business creativity plan and self-evaluation forms in business creativity posttest scores of students were significantly higher from pretest scores at .05 level. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.54 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ความคิดสร้างสรรค์ | - |
dc.subject | การสร้างสรรค์ทางธุรกิจ | - |
dc.subject | ปริญญาดุษฎีบัณฑิต | - |
dc.subject | Creative thinking | - |
dc.subject | Creative ability in business | - |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการแบ่งปันความรู้ออนไลน์โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบร่วมกับเทคนิคการวิเคราะห์อนาคตเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์เชิงธุรกิจของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตสาขาการจัดการ | en_US |
dc.title.alternative | DEVELOPMENT OF ONLINE KNOWLEDGE SHARING MODEL USING DESIGN THINKING APPROACH AND FUTURE SCENARIOS ANALYSIS TECHNIQUES TO ENHANCE BUSINESS CREATIVITY OF UNDERGRADUATE MANAGEMENT STUDENTS | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected],[email protected] | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2016.54 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5584475127.pdf | 8.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.