Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52238
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDinar Boontharmen_US
dc.contributor.authorYantong Lien_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Artsen_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:03:05Z-
dc.date.available2017-03-03T03:03:05Z-
dc.date.issued2016en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52238-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2016en_US
dc.description.abstractThis thesis aims to identify the traditional Khon mask performance as intangible cultural heritage. Three selected cases: the Department of Fine Arts Khon Troupe, Her Majesty Queen Sirikit’s SUPPORT Foundation Khon Project and Sala Chalermkrung Khon Troupe will be examined, in terms of their significance and the roles they play in safeguarding Khon performance in Thailand today. In this research, the main resource of information comes from the secondary sources; and some others are from the documentary research, qualitative in-depth interviews and observations. Conclusions of this study indicate that the Khon mask performance has been safeguarded through the efforts of these three organizations; each of them plays significant roles in safeguarding Khon performance today. The study also shows that the main safeguarding approach of Department of Fine Arts Khon Troupe is to fulfill the official commission assigned by the Royal Thai Government to educate the knowledge on Khon, to train Khon artists and to organize Khon performances for the State functions and the regular Khon performances; Her Majesty Queen Sirikit’s SUPPORT Foundation Khon Project focus on the approaches of recreating high quality Khon costumes, masks, props, scenes in the authentic traditional Thai style, especially from the early Bangkok period, training young performers and artists and creating modern and high techniques of scene making to attract the audiences and the Sala Chalermkrung Khon Troupe mainly focuses on the approach of introducing the Khon performance in adjusted versions to the tourists and the foreigners. Finally, by the three organizations’ efforts, the traditional Khon performance has been ensured its viability and continuation to the future generations.en_US
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์เรื่องนี้มุ่งนำเสนอการวิเคราะห์แนวทางการอนุรักษ์การแสดงโขน ในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นนามธรรม โดยมีกรณีศึกษาคณะโขน 3 คณะ คือ คณะโขนสำนักการสังคีต กรมศิลปากร โครงการจัดแสดงโขนพระราชทาน มูลนิธิศิลปาชีพ สถาบันสิริกิติ์ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และคณะโขนศาลาเฉลิมกรุง การวิจัยนี้จะศึกษาบทบาทและวิธีการของคณะโขนทั้งสามในการอนุรักษ์และสืบทอดการแสดงโขน โดยใช้วิธีวิจัยเอกสารเป็นหลัก หลักฐานสำคัญได้จากเอกสารชั้นต้นประเภทข่าวหนังสือพิมพ์ เอกสารชั้นรองประเภทหนังสือ งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ รวมถึงข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และการไปสังเกตการณ์การแสดงโขนในโอกาสต่างๆ ผลการวิจัยพบว่า การแสดงโขนในประเทศไทยปัจจุบันได้รับการอนุรักษ์และสืบทอดไว้ด้วยบทบาทของสถาบันทั้งสาม โดยพบว่าสำนักการสังคีต กรมศิลปากรมีบทบาทหน้าที่หลักในฐานะองค์การภาครัฐที่รับผิดชอบการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ได้แก่ การให้การศึกษาเรื่องโขน การฝึกหัดและผลิตนาฏศิลปินโขน และการจัดแสดงโขนในวาระต่างๆ ทั้งที่เป็นโอกาสทางราชการและการจัดแสดงต่อสาธารณชน โครงการจัดแสดงโขนพระราชทาน มูลนิธิศิลปาชีพ สถาบันสิริกิติ์ มีบทบาทในการอนุรักษ์การแสดงโขน โดยมุ่งอนุรักษ์เครื่องพัสตราภรณ์ต่างๆสำหรับการแสดงโขน เช่นเครื่องแต่งตัวโขน หัวโขน ศาสตราวุธ เครื่องประกอบฉาก ตลอดจนการสร้างฉากที่ยิ่งใหญ่อลังการด้วยงานศิลปะไทย และการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ากับการแสดงโขน เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้ชม ในขณะที่คณะโขนศาลาเฉลิมกรุง มีบทบาทในการอนุรักษ์การแสดงโขนที่มุ่งสร้างบทโขนให้เกิดเป็นตอนเฉพาะที่แสดงเรื่องราวของตัวละครเอกตัวใดตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ เช่น พระรามและหนุมาน ให้มีการดำเนินเรื่องที่รวดเร็ว บทร้องและบทเจรจาน้อย แต่มีการแสดงท่าทางต่างๆเป็นภาษาสากลเพื่อให้นักท่องเที่ยวและผู้ชมชาวต่างประเทศเข้าใจเรื่องราวและลักษณะการแสดงโขนของไทยได้ง่าย บทบาทและวิธีการในการอนุรักษ์การแสดงโขนขององค์กรทั้งสามมีส่วนช่วยให้การแสดงโขนในสังคมไทยปัจจุบันยังคงได้รับความนิยมจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย และจะได้รับการสืบทอดต่อไปในอนาคตด้วยen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1894-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectKhon (Dance drama)-
dc.subjectCultural property-
dc.subjectโขน-
dc.subjectทรัพยากรทางวัฒนธรรม-
dc.subjectการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม-
dc.titleTraditional khon mask performance as intangible cultural heritage (2006-2014) : cases of Department of Fine Arts Khon Troupe, her Majestyqueen Sirikit's Support Foundation Khon Project and the Sala Chalermkrung Khon Troupeen_US
dc.title.alternativeการอนุรักษ์การแสดงโขนในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา (พ.ศ. 2549-2557): กรณีศึกษาโขนกรมศิลปากร โครงการโขนมูลนิธิศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และโขนศาลาเฉลิมกรุงen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineThai Studiesen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1894-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5680354222.pdf2.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.