Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยะ ศรีกัลยาณบุตรen_US
dc.contributor.authorกรีธา ธรรมเจริญสถิตen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:06:57Z-
dc.date.available2017-03-03T03:06:57Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52388-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การออกแบบเรขศิลป์สิ่งพิมพ์โฆษณาสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สวมใส่นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจำแนกประเภทอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สวมใส่และวิธีการกำหนดยุทธวิธีการสร้างสรรค์การโฆษณา ในประเด็นจุดจับใจและการนำเสนอความคิดโฆษณาที่มีความเหมาะสมกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สวมใส่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) รวบรวมข้อมูลจากเอกสารและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านตลาดสินค้าไอที เพื่อค้นหาประเภทอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สวมใส่ 2) แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้ ได้แก่ สิ่งพิมพ์โฆษณาจากเว็บไซต์ lurzersarchive.com คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011 – 2015 จำนวน 262 ชิ้นงาน ผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบการใช้จุดจับใจและการนำเสนอความคิดโฆษณาจากกลุ่มตัวอย่างจากผู้เชี่ยวชาญด้านเรขศิลป์ จำนวน 226 ชิ้นงาน วิเคราะห์และสรุปผลโดยแสดงในรูปจำนวนร้อยละและจัดเรียงตามลำดับคะแนน ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการออกแบบเรขศิลป์สิ่งพิมพ์โฆษณา สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สวมใส่ ได้แก่ 1. ประเภทการใช้งานเพื่อการออกกำลังกาย สามารถใช้จุดจับใจประเภทจุดจับใจที่ใช้ลักษณะเด่นของสินค้าได้ ส่วนรูปแบบการนำเสนอความคิดโฆษณาสามารถใช้วิธีเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปไมยได้ 2. ประเภทการใช้งานเพื่อดูข้อมูลร่วมกับสร้างความบันเทิง สามารถใช้จุดจับใจประเภทจุดจับใจที่ใช้ลักษณะเด่นของสินค้าได้ ส่วนรูปแบบการนำเสนอความคิดโฆษณาสามารถใช้วิธีการเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปไมยได้en_US
dc.description.abstractalternativeGraphic design for Print advertising design of wearable device. The purpose of this research is to discriminate the Wearable device and Creative tactics on the subject matter of Advertising appeals and a proper execution to the Wearable device. The tools for research are as follow: 1) Gathering all data information and interviewing the IT market specialist in order to searching for Wearable device. 2) The questionnaire innovated by researcher, for example the advertising from website lurzersarchive.com which was selected from year 2011 to 2015 by purposive sampling. Of which 262 samples had been passed an accurate checked, while 226 samples of Advertising appeal and execution from the group of Print advertising expert with analyzed and concluded in percentage and in score sequencing. Research result Guidelines for Graphic design for Print advertising design of wearable device are as follow: 1. Fitness type can use Feature appeal while the style of execution can use the metaphor and analogy method. 2. Infotainment type can use Feature appeal while the style of execution will be the metaphor and analogy one.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.389-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการออกแบบกราฟิก-
dc.subjectการออกแบบและจัดหน้าพิมพ์โฆษณา-
dc.subjectGraphic design-
dc.subjectAdvertising layout and typography-
dc.titleการออกแบบเรขศิลป์สิ่งพิมพ์โฆษณาสำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สวมใส่en_US
dc.title.alternativePRINT ADVERTISING DESIGN OF WEARABLE DEVICEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.389-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5786703835.pdf10.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.