Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTipaporn Limpaseni
dc.contributor.authorThippawan Kornsiripanya
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science
dc.date.accessioned2017-03-06T06:37:06Z
dc.date.available2017-03-06T06:37:06Z
dc.date.issued2007
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52467
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007en_US
dc.description.abstractStarch debranching enzyme (DBE), one of the emzymes involved starch biosynthesis in plant, hydrolyzed the a-1,6 linkages of polyglucans was classified into two types; lsoamylase and pullulanase. DBE from nine moths old cassava tubers cv.KU50 was purified by 60% saturated ammonium sulfate precipitation followed by chromatographies on DEAE-Sepharose and Sephacryl S-200. lsoamylase and pullulanase were 14.6 and 20 folds purified. on sephacryl S-200, molecular weight of lsoamylase and pullulanase were 98 and 175 kDa respectively. on SDS-PAGE, lsoamylase showed 2 major protein bands containing 41 and 34 kDa, and pullulanase showed 3 major protein bands of 54, 46 and 41 kDa. Both lsoamylase and pullulanase had optimum pH at 6.0 while the optimum temperatures for their activities were 70 and 50oC, respectively. pullulanase showed high specificity towards pullulan and law specificity with amylopectin. lsoamylase showed high specificity with amylopectin but could not hydrolyza pullulan. the Km for amylopectin with lsoamylase was 21.14 mg/ml while the Km for pullulan of pullulanase was 39.49 mg/ml. the sulfhydryl reagents such as DTT, GSH and B-mercaptoethanol showed positive effect on CBE, indicating that –SH group involved in DBE activity. lsoamylase was inhibited by Cu2+ and activated by Co2+ while pullulanase was inhibited by Cu2+ and Ni2+ and activated by Co2+, Mn2+.
dc.description.abstractalternativeเอนไซม์ตัดโซ่กิ่งของแป้ง เป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์แป้งในพืช เอนไซม์ตัดโช่กิ่งมีแอกติวีตี 2 แบบคือ ไอโซอะไมเลสและพูลลูแลนเนส ในการทดลองนี้ ทำการสกัดและศึกษาสมบัติของเอนไซม์ตัดโซ่กิ่งของแป้งจากหัวมันสำปะแห้งหลังสายพันธุ์ KU50 ได้ทำแอนไซม์ให้บริสุทธิ์ขึ้นโดยตกตะกอนโปรตีนด้วยความเข้มข้นของแอมโมเนียมซัลเฟตอิ่มตัวที่ 60% และผ่านคอลัมน์โครมาโตกราฟี โดยใช้ DEAE-Sepharose และ Sephacryl S-200 ได้ไอโซอะไมเลสและพูลลูแลนเนสที่มีความบริสุทธิ์ 14.6 และ 20 เท่าตามลำดับ ไอโซอะไมเลสมีน้ำหนักโมเลกุลเท่ากับ 98 กิโลดาลตัน เมื่อคำนวนจากการแยกด้วย Sephacryl S-200 และเมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธีอิเลกโตรโฟรีซิลแบบเสียสภาพพบแถบโปรตีน 2หลัก ที่มีขนาด 41 และ 34 กิโลดาลตัน พูลลูแลนเนสมีน้ำหนักโมเลกุลที่คำนวณจากการแยกด้วย Sephacryl S-200 เท่ากับ 175 กิโลดาลตัน และเมื่อวิเคราะห์ด้วยอิเลกโตรโฟรีซิลแบบเสีบสภาพ พบแถบโปรตีน 3 แถบ ขนาด 54, 46 และ 41 กิโลดาลตัน ไอโซอะไมเลสและพูลลูเนสสามารถเร่งปฏิกิริยา ได้ดีที่ความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 6.0 อุณหภูมิที่ไอโซอะไมเลสและพูลลูแลนเนสทำปฏิกิริยาได้ดีที่สุด คือ 70 และ 50 องศาเซลเซียลตามลำดับ พูลลูแลเนสสามารถย่อยซับสเตรตได้ทั้งพูลลูแลน และอะไมโลเพคติน แต่มีความจำเพาะต่อพูลลูแลนมากกว่า ไอโซอะไมเลสมีความจำเพาะต่ออะไมโลเพคตินและไม่สามารถย่อยพูลลูแลนได้ ไอโซอะไมเลสมีค่า Km ต่ออะไมโลเพตติน 21.14 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร พูลลูแลนเนสมีค่า Km ต่อพูลลูแลน 39.49 มิลลิกรัมต่อมิลิลิตร จากการศึกษาผลของ Sulfhydryl reagent พบว่า DTT, GSH และ B-mercaptoethanol กระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ตัดโซ่กิ่ง แสดงว่าหมู่ –SH มีบทบาทต่อการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ และผลของ divalent metalion ต่อเอนไซม์ พบว่า การทำงานของเอนโซอะไมเลสถูกยับยั้งด้วย Cu2+ และการกระตุ้นโดย Co2+ และในขณะที่พูลลูแลนเนสถูกยับยั้งด้วย Cu2+ และ Ni2+ และการกระตุ้นโดย Co2+ และ Mn2+
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1855-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectเอนไซม์en_US
dc.subjectแป้งมันสำปะหลังen_US
dc.subjectStarch debranching enzymeen_US
dc.subjectCassavaen_US
dc.subjectStarchen_US
dc.subjectManihot esculenta crantzen_US
dc.titleCharacterization of starch debranching enzyme from tuber of cassava Manihot esculenta crantz cv. KU50en_US
dc.title.alternativeลักษณะสมบัติของเอนไซม์ตัดโซ่กิ่งของแป้งจากหัวมันสำปะหลัง Manihot esculenta crantz cv. KU50en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineBiochemistryen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisor[email protected]
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1855-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thippawan_ko_front.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open
thippawan_ko_ch1.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open
thippawan_ko_ch2.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
thippawan_ko_ch3.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open
thippawan_ko_ch4.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
thippawan_ko_ch5.pdf329.09 kBAdobe PDFView/Open
thippawan_ko_back.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.