Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52821
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuphot Phatanasri-
dc.contributor.authorWaralee Marungrueang-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2017-04-27T14:24:08Z-
dc.date.available2017-04-27T14:24:08Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52821-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractThe cobalt catalysts (cobalt content by weight: 7%, 10% and 15%) and cobalt-nickel bimetallic catalysts (cobalt-nickel content by weight: 3.5%-3.5%, 5%-5%, 7%-7%, 10%-10% and 15%-15%) were studied in dry reforming of methane for hydrogen and synthesis gas production. All catalysts were synthesized by the wetness impregnation method. The dry reforming of methane was carried out at 700oC, atmosphere pressure using a mixture; CH4 and CO2 in ratio 1:1. It was found that, after 120 minutes, the catalysts that gave the best methane conversion are 10%Co/Al2O3 (61.86%) for mono-metallic catalysts and 10%Ni-10%Co/Al2O3 (96.86%) for bimetallic catalysts. Moreover, the effect of adding potassium promoter to 10%Ni-10%Co/Al2O3 catalyst was studied. The methane conversion of potassium promoted 10%Ni-10%Co/Al2O3 catalyst was slightly lower than one without potassium. However, the adding of promoter could significantly decrease the carbon content on the catalysts.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำการศึกษาตัวเร่งปฏิกิริยาที่ถูกเตรียมโดยวิธีการเคลือบฝังแบบเปียก ได้แก่ ชนิดโลหะเดี่ยว คือ โคบอลต์บนตัวรองรับอะลูมินา ที่อัตราส่วนโลหะโคบอลต์ เท่ากับ 7%, 10% และ 15% และตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดโลหะคู่ คือ โคบอลต์-นิกเกิลบนตัวรองรับอะลูมินา ที่อัตราส่วนโลหะนิกเกิล-โคบอลต์ เท่ากับ 3.5%-3.5%, 5%-5%, 7%-7%, 10%-10% และ 15%-15% ในปฏิกิริยามีเทนรีฟอร์มมิ่งด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สำหรับการผลิตไฮโดรเจนและก๊าซสังเคราะห์ ซึ่งสำหรับในงานวิจัยนี้ จะทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส ณ ความดันบรรยากาศ โดยป้อนสารตั้งต้น คือ ก๊าชผสมระหว่างมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ในอัตราส่วน 1:1 จากผลการทดลองพบว่า หลังจาก 120 นาทีของปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้ค่าร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมีเทนที่ดีที่สุดในงานทดลองนี้ คือที่ปริมาณโคบอลต์ 10% สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดโลหะเดี่ยว และที่ปริมาณอัตราส่วน 10%นิกเกิล-10%โคบอลต์ สำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดโลหะคู่ คือ ร้อยละ 61.86 และ ร้อยละ 96.83 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังทำการศึกษาผลของการเติมตัวสนับสนุน คือ โลหะโพแทสเซียมเข้าไปในตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดโลหะคู่ที่อัตราส่วนโลหะนิกเกิล-โคบอลต์ เท่ากับ 10%-10% ซึ่งพบว่าได้ค่าร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมีเทนลดลงจากตัวเร่งปฏิกิริยาที่ไม่ได้เติมตัวสนับสนุนเพียงเล็กน้อย แต่ปริมาณคาร์บอนที่เกิดขึ้นลดลงอย่างเห็นได้ชัดen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1840-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectCarbon dioxideen_US
dc.subjectHydrogenen_US
dc.subjectSynthesis gasen_US
dc.subjectMethaneen_US
dc.subjectCatalytic reformingen_US
dc.subjectCobalt catalystsen_US
dc.subjectNickel catalystsen_US
dc.subjectMetal catalystsen_US
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์en_US
dc.subjectไฮโดรเจนen_US
dc.subjectก๊าซสังเคราะห์en_US
dc.subjectมีเทนen_US
dc.subjectรีฟอร์มมิงด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์en_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะen_US
dc.titleCarbon dioxide reforming of methane for hydrogen production on co catalysts and ni-co bimetallic catalystsen_US
dc.title.alternativeปฏิกิริยาคาร์บอนไดออกไซด์รีฟอร์มมิ่งของมีเทน สำหรับการผลิตไฮโดรเจน บนตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์และนิกเกิล-โคบอลต์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Engineeringen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineChemical Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1840-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
waralee_ma.pdf6.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.