Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorรัชนก นาสมทรง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialแม่จัน (เชียงราย)-
dc.date.accessioned2017-09-28T08:19:50Z-
dc.date.available2017-09-28T08:19:50Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53368-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาธรณีวิทยาแผ่นดินไหวตามแนวรอยเลื่อนแม่จัน ภาคเหนือประเทศไทย โดยการศึกษาเริ่มต้นจากการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและแปลความหมาย ข้อมูลโทรสัมผัส จากนั้นทำการสำรวจข้อมูลในภาคสนามเพื่อตรวจสอบลักษณะธรณีสัณฐานที่ บ่งชี้ว่าเป็นรอยเลื่อน และสำรวจลักษณะของรอยเลื่อนตัดผ่านชั้นตะกอนที่ปรากฏในพื้นที่ศึกษา รวมทั้งเก็บตัวอย่างตะกอนมาวิเคราะห์หาอายุในห้องปฏิบัติการด้วยวิธีเรืองแสงด้วยความร้อน เพื่อหาช่วงเวลาการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในอดีต ซึ่งจากผลการแปลความหมายข้อมูลโทรสัมผัส พบว่า ลักษณะโครงสร้างแนวเส้นมีทิศทางการวางตัวในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ เป็นหลัก ซึ่งสัมพันธ์กับแนวการวางตัวของรอยเลื่อนแม่จัน และจากการสำรวจภาคสนามพบ ลักษณะภูมิประเทศที่บ่งบอกว่าเป็นรอยเลื่อน ได้แก่ ผาสามเหลี่ยม และหนองน้ำยุบตัว นอกจากนี้ ยังพบลักษณะการเลื่อนตัวของหินแกรนิตและชั้นตะกอน บริเวณบ้านอีก้อป่าบงงามล่าง ตำบลป่า ตึง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย จึงได้ทำการเก็บตัวอย่างตะกอน 5 ตัวอย่าง เพื่อกำหนดอายุใน ห้องปฏิบัติการด้วยวิธีเรืองแสงด้วยความร้อน ผลการกำหนดอายุบ่งชี้ว่าชั้นตะกอนบริเวณบ้าน อีก้อป่าบงงามล่าง เคยเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวและทำให้เกิดการเลื่อนตัวอย่างน้อยเมื่อประมาณ 34,900 ปี ที่ผ่านมา ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า รอยเลื่อนบริเวณดังกล่าว เป็นรอยเลื่อนแบบมีศักยภาพที่จะ ให้พลังen_US
dc.description.abstractalternativeIn this study, the earthquake geology, i.e., paleoseismology, is investigated carefully along the Mae Chan fault zone. The orientation of fault and the adjacent areas are interpreted using the Satellite image. Geomorphological evidences are also investigated in order to delineate the fault trace. Based mainly on remote sensing interpretation, various geomorphological feature indicating fault are revealed, e.g., triangular facets and sag pond. Among a number of outcrops exposed along the Mae Chan fault, a prominent site showing earthquake faulting in the sedimentary profile, at Ban I Ko Pa Bong Ngam Lang, Mae Chan district. Five sedimentary samples are decided to collect in order to date of earthquake faulting. According to Thermoluminescence dating, it is indicated that the earthquake faulting is posed at 34,900 year ago defining as the potential active fault.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเขตรอยเลื่อนen_US
dc.subjectเขตรอยเลื่อน -- ไทย -- แม่จัน (เชียงราย)en_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา)en_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- แม่จัน (เชียงราย)en_US
dc.subjectแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectแผ่นดินไหว -- ไทย -- แม่จัน (เชียงราย)en_US
dc.subjectFault zonesen_US
dc.subjectFault zones -- Thailand -- Mae Chan (Chiang Rai)en_US
dc.subjectFaults (Geology)en_US
dc.subjectFaults (Geology) -- Thailand -- Mae Chan (Chiang Rai)en_US
dc.subjectEarthquakesen_US
dc.subjectEarthquakes -- Thailand -- Mae Chan (Chiang Rai)en_US
dc.titleธรณีวิทยาแผ่นดินไหวของกลุ่มรอยเลื่อนแม่จัน ภาคเหนือประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeEarthquake geology along The Mae Chan fault zone, Northern Thailanden_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332727623 รัชนก นาสมทรง.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.