Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJittra Rukijkanpanich-
dc.contributor.authorSurachai Santisookrat-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2017-10-18T06:33:57Z-
dc.date.available2017-10-18T06:33:57Z-
dc.date.issued2008-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53545-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulaongkorn Univeristy, 2008en_US
dc.description.abstractDrying process is a very important process for Thai agro-industry. It is used to preserve agricultural products in order to prolong their shelf lives by reducing their moisture content to the quality target. However, a major problem related to the quality of the dried product is still found. The dried product cannot be reduced the moisture content to its target. Therefore, this aim of this dissertation is to manage the quality variation for drying process in Thai agro-industry. This dissertation is conducted with four types of the dried product as paddy rice, cassava chip, tobacco, and longan. All of them are important commercial product for Thailand. This dissertation begins with finding the drying time for each drying phase. After that, fuzzy c-means clustering is selected to organize the raw materials into the same clusters. It can help to reduce the dried product quality variation from the variety of the raw material. As a result, three clusters as low, medium, and high moisture content are the optimal number of clustering. After clustering, the raw materials are transferred to the drying process which can be divided into three phases as heating, drying with a constant drying rate, and drying with falling rate phases. The optimal drying temperature level and the mathematical model representing the behavior of the moisture content during the drying period are obtained. Moreover, adjustment drying temperature period is added and proposed by this dissertation to minimize the dried product quality variation.en_US
dc.description.abstractalternativeกระบวนการอบแห้งเป็นกระบวนการถนอมผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่ออุตสาหกรรมเกษตรของประเทศไทย เนื่องจากกระบวนการดังกล่าวสามารถช่วยยืดอายุของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรด้วยการลดความชื้นในผลิตภัณฑ์นั้นๆ แต่จากการศึกษาพบว่ากระบวนการอบแห้งในประเทศไทยนั้นยังประสบกับปัญหาทางด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ คือกระบวนการอบแห้งไม่สามารถลดความชื้นให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งเป้าหมายนี้มีผลต่อการยืดอายุของผลิตภัณฑ์ด้วย ดังนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงมุ่งศึกษาเกี่ยวกับการจัดการความผันแปรทางด้านคุณภาพสำหรับกระบวนการอบแห้งในอุตสาหกรรมเกษตรของประเทศไทย โดยเลือกกรณีศึกษา คือ ข้าวเปลือก มันสำปะหลังเส้น ใบยาสูบ และลำไย ในการศึกษาเริ่มจากการพิจารณาหาระยะเวลาอบแห้งสำหรับแต่ละช่วงเวลาของกระบวนการอบแห้ง หลังจากนั้นได้นำเทคนิค Fuzzy c-means clustering มาใช้สำหรับการแบ่งกลุ่มวัตถุดิบ เพื่อลดความผันแปรทางด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์อบแห้งเนื่องจากความหลากหลายของวัตถุดิบนั่นเอง พบว่าการแบ่งวัตถุดิบออกเป็น 3 กลุ่ม ตามช่วงของความชื้นต่ำ กลาง และสูงนั้นจะให้ความผันแปรทางด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์อบแห้งที่น้อยที่สุด เมื่อวัตถุดิบถูกจัดกลุ่มจะถูกนำเข้าสู่กระบวนการอบแห้งซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา ได้แก่ช่วงการอุ่นร้อน ช่วงการอบแห้งด้วยอัตราอบแห้งคงที่ และช่วงการอบแห้งด้วยอัตราอบแห้งที่ลดลง ผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการอบแห้งเพื่อลดความผันแปรทางด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์อบแห้งนั้น คือ อุณหภูมิอบแห้งที่เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา และรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อแสดงถึงพฤติกรรมของความชื้นระหว่างช่วงเวลาอบแห้งนั้นๆ นอกจากนี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนั้ยังได้เสนอช่วงเวลาการอบแห้งอีกหนึ่งช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเวลาการปรับอุณหภูมิอบแห้ง ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์มีความผันแปรลดลงจากกระบวนการอบแห้งเพียง 3 ช่วงเวลาเท่านั้นen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1468-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectDryingen_US
dc.subjectQuality of productsen_US
dc.subjectการอบแห้งen_US
dc.subjectคุณภาพผลิตภัณฑ์en_US
dc.titleQuality variation management for drying process in Thai agro-industryen_US
dc.title.alternativeการจัดการความผันแปรทางด้านคุณภาพสำหรับกระบวนการอบแห้งในอุตสาหกรรมเกษตรของประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Engineeringen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineIndustrial Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1468-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
surachai_sa_front.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch1.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch2.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch3.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch4.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch5.pdf3.91 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch6.pdf4.16 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch7.pdf3.97 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch8.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch9.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_ch10.pdf1.56 MBAdobe PDFView/Open
surachai_sa_back.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.