Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55584
Title: Effect of transition metals promoted on Vanadium phosphorus oxide (VPO) catalysts in the partial oxidation of n-pentane
Other Titles: ผลของโลหะทรานซิชันที่เติมบนตัวเร่งปฏิกิริยาวาเนเดียมฟอสฟอรัสออกไซด์ ในปฏิกิริยาออกซิเดชันบางส่วนของนอร์มอล-เพนเทน
Authors: Suchanut Pisuttangkul
Advisors: Joongjai Panpranot
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: [email protected],[email protected]
Subjects: Transition metals
Vanadium catalysts
โลหะทรานซิชัน
ตัวเร่งปฏิกิริยาวาเนเดียม
Issue Date: 2016
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Vanadium phosphorus oxide (VPO) catalysts have been employed in partial oxidation of n-butane and n-pentane. In this study, VPO catalysts were synthesized by refluxing vanadyl phosphate dihydrate (VOPO4•2H2O) with isobutanol and modified with transition metals promoters such as Co, Bi, Fe, and Mn at the mass ratio of M/V 0.35. In the first part, Mn was found to be the best metal to improve the performances of VPO catalyst in n-pentane oxidation. Then the Mn-VPO catalysts were prepared with different ratios of Mn/V loadings at 0.25, 0.35, 0.45, 0.55, and 0.65. All the catalysts were calcined at 300ᵒC for 8 h to generate the vanadyl pyrophosphate ((VO)2P2O7) phase which is the active phase of VPO catalysts and was confirmed by the XRD results. As shown by SEM results, all the synthesized catalysts showed the rosette-shape morphologies of vanadyl pyrophosphate. The transition metal promoted catalysts presented the formation of V4+ state which provided a better catalytic performance with 42.7-55.8% n-pentane conversion, 28.9-62.5% MA selectivity, and 8-13.1% PA selectivity. The optimum ratio of Mn/V was determined to be at 0.45
Other Abstract: วาเนเดียมฟอสฟอรัสออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้ในปฏิกิริยาออกซิเดชันบางส่วนของนอร์มอล-บิวเทนและนอร์มอลเพนเทน ในงานวิจัยนี้เตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาวาเนเดียมฟอสฟอรัสออกไซด์โดยการรีฟลักซ์วาเนดิลฟอสเฟตไดไฮเดรตกับไอโซบิวทานอล และทำการดัดแปรตัวเร่งปฏิกิริยา โดยการเติมตัวส่งเสริมโลหะทรานซิชันนั่นได้แก่ โคบอลต์ บิสมัท เหล็ก และ แมงกานีส โดยในส่วนแรกใช้อัตราส่วนโดยมวลของโลหะตัวส่งเสริมต่อวาเนเดียมเท่ากับ 0.35 พบว่าตัวส่งเสริมแมงกานีสเพิ่มประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา ในปฏิกิริยาออกซิเดชันบางส่วนของนอร์มอลเพนเทนได้ดีที่สุด จากนั้นศึกษาการเติมตัวส่งเสริมแมงกานีสในปริมาณที่ต่างกัน ที่อัตราส่วนโดยมวลของแมงกานีสต่อวาเนเดียมเท่ากับ 0.25 0.38 0.45 0.55 และ 0.65 ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งหมดที่เตรียมผ่านการเผาที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 ชั่วโมง เพื่อผลิตเฟสของวาเนดิล ไพโรฟอสเฟต ซึ่งเป็นเฟสที่ว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งสามารถยืนยันได้จากการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ ผลจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดแสดงสัณฐานของตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีลักษณะแบบกลีบกุหลาบของวาเนดิลไพโรฟอสเฟต นอกจากนี้พบว่าการเติมตัวส่งเสริมโลหะทรานซิชันส่งผลให้เกิดออกซิเดชันของวาเนเดียมสี่บวกมากขึ้น ซึ่งช่วยทำให้ตัวเร่งปฏิกิริยามีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น โดยค่าการเปลี่ยนแปลงนอร์มอล-เพนเทนของตัวเร่งปฏิกิริยาอยู่ในช่วง 42.7-55.8 เปอร์เซ็นต์ ค่าการเลือกเกิดมาเลอิกแอนไฮไดร์ 28.9-62.5 เปอร์เซ็นต์ และฟาทาลิกแอนไฮไดร์ 8-13.1 เปอร์เซ็นต์ อัตราส่วนของแมงกานีสต่อวาเนเดียมที่ทำให้ตัวเร่งปฏิกิริยามีประสิทธิภาพสูงที่สุดคือ 0.45
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2016
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55584
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1393
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2016.1393
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5870256021.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.