Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58340
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญ-
dc.contributor.authorศรัณย์พัชร สุวรรณโชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:37:50Z-
dc.date.available2018-04-11T01:37:50Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58340-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้นำเสนอวิธีปรับปรุงกระบวนการอัดรีดท่อพลาสติกพอลิไวนิลคลอไรด์เพื่อลดต้นทุนวัตถุดิบ โดยประยุกต์ใช้กระบวนการซิกซ์ ซิกซ์ม่าเพื่อค้นหาต้นตอของปัญหา ซึ่งทำการทดลองที่ผลิตภัณฑ์ท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร ที่ชั้นคุณภาพ 8.5 โดยปัจจุบันพบว่ามีน้ำหนักเกินจากมาตรฐาน มากถึง 25% จากค่าน้ำหนักมาตรฐาน 10.496 กิโลกรัม คิดเป็นความสูญเสีย 0.28 ล้านบาทต่อปี จากการศึกษาพบว่าสาเหตุที่มีผลต่อน้ำหนักของผลิตภัณฑ์ คือปัจจัยการปรับตั้งค่าพารามิเตอร์ของกระบวนการอัดรีด ที่ไม่เหมาะสม จึงทำการทดลองเพื่อหาพารามิเตอร์ที่เหมาะสม โดยใช้การออกแบบการทดลองแบบ บ็อกซ์-เบห์นเคน ร่วมกับหลักการพื้นผิวผลตอบสนอง โดยมีปัจจัยที่ส่งผล 5 ปัจจัย คือ อุณหภูมิหัวแม่พิมพ์ อุณหภูมิท้ายแม่พิมพ์ ความเร็วรอบสกรู ความดันสุญญากาศ และความเร็วเครื่องลาก โดยค่าเหมาะสมที่ได้จากการทดลองคือ อุณหภูมิหัวแม่พิมพ์ 165 องศาเซลเซียส อุณหภูมิท้ายแม่พิมพ์ 180 องศาเซลเซียส ความเร็วรอบสกรู 22 รอบต่อนาที ความดันสุญญากาศ 450 มิลลิบาร์ และความเร็วเครื่องลาก 3,100 มิลลิเมตรต่อนาที น้ำหนักหลังการปรับปรุงลดลงเหลือ 10.26 กิโลกรัมต่อท่อน และอยู่ในช่วงยอมรับได้ ทำให้ต้นทุนลดลง 0.94 ล้านบาทต่อปี-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to improve the polyvinylchloride pipe extrusion process in order to reduce the material cost by applying Six Sigma method to determine the root cause. This study specifically experimented on the pipe of 100/8.5 mm because it is found that the weight of it exceeds up to 25% from the standard weight of 10.496 kilogram which costs up to 0.28 million Baht per year. It is understood that the cause of overweight is the improper setting of the extruder parameters. Hence, Box–Behnken design is employed with the response surface analysis to explore the suitable parameters, which are head die temperature, end die temperature, screw speed, vacuum pressure, and pipe pulling speed. The experimentally obtained parameters are head die temperature of 165 °C, end die temperature of 180 C°, screw speed of 22 rpm, vacuum pressure of 450 mbar, and pipe pulling speed of 3,100 mm/minute. The weight of pipe has decreased in 10.26 kilograms per piece, which is acceptable. The production has no longer produce overweight pipe which beneficially save 0.94 million Baht per year.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1445-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการอัดรีดท่อพลาสติกพอลิไวนิลคลอไรด์เพื่อลดต้นทุนวัตถุดิบ-
dc.title.alternativeIMPROVEMENT OF A POLYVINYLCHLORIDE PIPE EXTRUSION PROCESS TO REDUCE MATERIAL COST-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisor[email protected],[email protected]-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1445-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5870965221.pdf8.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.