Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58650
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช | - |
dc.contributor.author | รติรัตน์ ไวถนอมสัตย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2018-05-02T02:38:44Z | - |
dc.date.available | 2018-05-02T02:38:44Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58650 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดกระทำกลุ่มเรา-กลุ่มเขาและการจัดกระทำความคาดหวังในความสำเร็จต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม ซึ่งมีรูปแบบการวิจัยแบบ 2 (การรับรู้ความเป็นกลุ่ม: กลุ่มเราและกลุ่มเขา) x 2 (ความคาดหวังในความสำเร็จ: ได้รับความคาดหวังสูงและไม่ได้ความคาดหวัง) ผู้ร่วมการทดลองเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 120 คน ซึ่งถูกสุ่มเข้าเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งใน 4 เงื่อนไขข้างต้น จากนั้นจึงถามคำถามชี้นำจากมาตรวัดการคล้อยตามสิ่งชี้นำ ซึ่งได้ศึกษาตามกรอบแนวคิดและทฤษฎีของ Gudjonsson (1997) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ที่ได้รับความคาดหวังสูงมีคะแนนการยอมเชื่อตามคำถามชี้นำครั้งที่ 1 และคะแนนการคล้อยตามสิ่งชี้นำโดยรวมมากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับความคาดหวังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2. ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเรามีคะแนนการยอมเชื่อตามคำถามชี้นำครั้งที่ 1 และคะแนนการคล้อยตามสิ่งชี้นำโดยรวมมากกว่าผู้ที่อยู่ในกลุ่มเขาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 3. ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเราเมื่อได้รับความคาดหวังสูงมีคะแนนการยอมเชื่อตามคำถามชี้นำครั้งที่ 1 ไม่แตกต่าง จากผู้ที่อยู่ในกลุ่มเขาเมื่อได้รับความคาดหวังสูง แต่พบว่าผู้ที่อยู่ในกลุ่มเราเมื่อได้รับความคาดหวังสูงมีคะแนนการคล้อยตามสิ่งชี้นำโดยรวมมากกว่าผู้ที่อยู่ในกลุ่มเขาเมื่อได้รับความคาดหวังสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเรา-กลุ่มเขาและความคาดหวังในความสำเร็จต่อคะแนนการยอมเชื่อตามคำถามชี้นำครั้งที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แต่ไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเรา-กลุ่มเขาและความคาดหวังในความสำเร็จต่อคะแนนการคล้อยตามสิ่งชี้นำโดยรวม | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to examine the effects of ingroup-outgroup manipulation and expectation of success manipulation on interrogative suggestibility by using 2 (group: ingroup/outgroup) x 2 (expectation of success: high expectation/no expectation) factorial design. One hundred and twenty Chulalongkorn University undergraduate students were randomly assigned into one of four experimental conditions. Finally the participants were given the leading question from the interrogative suggestibility scale. The findings are interpreted within the theoretical framework of Gudjonsson (1997). Results show that: 1. The participants given high expectation have significantly higher yield 1 and total suggestibility than those given no expectation (p < .001). 2. The ingroup participants have significantly higher yield 1 and total suggestibility than the outgroup participants (p < .001). 3. For the high expectation condition, there is no significant difference of yield 1 between the ingroup and outgroup participants; however, the ingroup participants have significantly higher total suggestibility than the outgroup participants (p < .01). 4. There is a significant interaction between ingroup-outgroup and expectation of success on yield 1 (p < .01); however, there is no interaction between ingroup-outgroup and expectation of success on total suggestibility. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1335 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กลุ่มสังคม | en_US |
dc.subject | กลุ่มสัมพันธ์ | en_US |
dc.subject | ความคาดหวัง (จิตวิทยา) | en_US |
dc.subject | Social groups | en_US |
dc.subject | Expectation (Psychology) | en_US |
dc.title | ผลของกลุ่มเรา-กลุ่มเขาและความคาดหวังในความสำเร็จต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม | en_US |
dc.title.alternative | Effects of ingroup-outgroup and expectation of success on interrogative suggestibility | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาสังคม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.1335 | - |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ratirat_wa_front.pdf | 995.34 kB | Adobe PDF | View/Open | |
ratirat_wa_ch1.pdf | 4.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
ratirat_wa_ch2.pdf | 1.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
ratirat_wa_ch3.pdf | 1.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
ratirat_wa_ch4.pdf | 724.4 kB | Adobe PDF | View/Open | |
ratirat_wa_ch5.pdf | 492.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
ratirat_wa_back.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.