Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58777
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorWalaipun Puengpipattrakul-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Language Institute-
dc.date.accessioned2018-05-16T07:16:17Z-
dc.date.available2018-05-16T07:16:17Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58777-
dc.description.abstractThe purposes of this mixed-method study were to (i) investigate and compare the perception of academic plagiarism of Thai postgraduate students from interdisciplinary studies; (ii) verify and compare the students’ actual practice of plagiarism; (iii) examine and justify contributory factors influencing plagiarism; and (iv) estimate and construct alternative measures for plagiarism prevention in the Thai context. The findings were as follows: (1) the quantitative analysis of 196 students’ perception, comprising awareness and knowledge, of plagiarism based on two main fields of study—science and social sciences—from interdisciplinary studies and groups of high achievers and limited achievers was found to have no statistically significant difference at the .05 level; (2) no significant difference in 153 students’ actual practice of plagiarism was determined when analyzed based on their field of study. However, with the levels of English-language proficiency-based analysis, a significant difference in actual practice of plagiarism was found between the average writing-test score of the high-achiever group (63.26) and that of the limited-achiever group (30.95) at the .05 level (t = -13.74, p < .05); (3) contributory factors influencing plagiarism, derived from responses from 196 learner-evaluation-forms, 48 instructor/ administrator questionnaires, and six student and 19 teacher interviews, were relevant to affective-psychological and environmental-situational constructs; and (4) the practical measures for plagiarism prevention in the Thai context were rated for “having very strict policies, rules, and practices to avoid plagiarism” (45.80%), “teaching how and when to cite sources” (43.80%), “raising students’ awareness of the values of academic honesty” (33.30%), and “having students write an annotated bibliography” (16.70%), respectively. Alternative measures for plagiarism prevention are also presented.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยเชิงผสมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาและเปรียบเทียบภาวะการรับรู้ด้านการลอกเลียนงานทางวิชาการของผู้เรียนชาวไทยในระดับบัณฑิตศึกษาจากสหสาขาวิชา (2) ประเมินและเปรียบเทียบภาวะด้านวิธีปฏิบัติจริงด้านการลอกเลียนงานทางวิชาการของผู้เรียนชาวไทยในระดับบัณฑิตศึกษาจากสหสาขาวิชา (3) อธิบายและระบุหาปัจจัยร่วมต่อการลอกเลียนงานทางวิชาการของผู้เรียนชาวไทยในระดับบัณฑิตศึกษา และ (4) ออกแบบและสร้างมาตรการทางเลือกในด้านการป้องกันปัญหาการลอกเลียนงานทางวิชาการในบริบทของไทย ผลของการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) เมื่อวิเคราะห์เชิงปริมาณจำแนกตามสายหลักจาก 2 สาขาวิชาของบัณฑิตศึกษา—สายวิทย์และสายสังคมศาสตร์—จากสหสาขาวิชาและตามกลุ่มผลสัมฤทธิ์สูงและกลุ่มผลสัมฤทธิ์จำกัด ล้วนพบว่า ภาวะการรับรู้ซึ่งประกอบด้วยความตระหนักรู้และความรู้ด้านการลอกเลียนงานทางวิชาการของตัวอย่างวิจัย 196 คน ไม่มีความแตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ภาวะการรับรู้ด้านการลอกเลียนงานทางวิชาการของตัวอย่างวิจัย 153 คน เมื่อวิเคราะห์จำแนกตามสาขาวิชาของบัณฑิตศึกษาจากสหสาขาวิชา พบว่า ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ แต่เมื่อวิเคราะห์จำแนกตามกลุ่มผลสัมฤทธิ์สูงและกลุ่มผลสัมฤทธิ์จำกัด พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มผลสัมฤทธิ์สูงมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 63.26 และกลุ่มผลสัมฤทธิ์จำกัดมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 30.95 (t = -13.74, p < .05) (3) ปัจจัยร่วมต่าง ๆ ที่มีผลต่อการลอกเลียนงานทางวิชาการที่ได้จากคำตอบจากกลุ่มตัวอย่างผู้เรียน 196 ฉบับ จากผู้สอน 48 ฉบับ และจากการให้สัมภาษณ์ของผู้เรียน 6 คน และผู้สอน 19 คน พบว่าเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบทางอารมณ์-จิตวิทยา และองค์ประ-กอบทางสภาพแวดล้อม-สถานการณ์ และ (4) มาตรการป้องกันปัญหาการลอกเลียนงานทางวิชาการที่ใช้ได้ผลในบริบทของไทย ได้แก่ การมีนโยบาย กฎเกณฑ์ และแนวปฏิบัติที่เคร่งครัดอย่างมาก (45.80%) การสอนวิธีการอ้างอิงแหล่งข้อมูล (43.80%) การสร้างให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักถึงค่านิยมด้านความซื่อสัตย์ทางวิชาการ (33.30%) และการให้ผู้เรียนเขียนบรรณนิทัศน์ (16.70%) ตามลำดับ ทั้งนี้ได้นำเสนอด้านมาตรการทางเลือกป้องกันปัญหาการลอกเลียนงานทางวิชาการไว้เช่นกันen_US
dc.description.sponsorshipThis research supported by Ratchadaphiseksomphot Endowment Funden_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPlagiarism -- Thailanden_US
dc.subjectLiterary ethics -- Thailanden_US
dc.titleAn Investigation of Academic Plagiarism of Thai Postgraduate Learners from Interdisciplinary Studiesen_US
dc.title.alternativeการศึกษาภาวะการลอกเลียนงานทางวิชาการของผู้เรียนชาวไทยระดับบัณฑิตศึกษาจากสหสาขาวิชาen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.author[email protected]-
Appears in Collections:Lang - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
b21469350_Walaipun Pu.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.