Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59240
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนันทรัตน์ เจริญกุล-
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์-
dc.contributor.authorอาทิพย์ สอนสุจิตรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-06-28T07:12:59Z-
dc.date.available2018-06-28T07:12:59Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59240-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับครูสังกัดโรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณา เก็บรวบรวม ข้อมูลโดย ใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพและปัญหา ความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร ผลการปฏิบัติงานสำหรับครู ตามองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อยรวมทั้งคุณลักษณะที่สร้างจากแนวคิด ทฤษฎี และการนิยามเชิงปฏิบัติการของการบริหารผลการปฏิบัติงานและระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน การสัมภาษณ์บุคลากรจากโรงเรียนที่เป็นตัวแทนกลุ่ม นำผลมาออกแบบระบบและตรวจสอบคุณภาพระบบการ บริหารผลการปฏิบัติงานโดยผู้ทรงคุณวุฒิ การสัมภาษณ์ผู้อำนวยการโรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คา เบรียลแห่งประเทศไทยและจัดสนทนากลุ่ม( Focus Group Discussion) ระหว่างหัวหน้าฝ่ายวิชาการและงาน บุคคลของทุกโรงเรียน เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และความเหมาะสมของการนำระบบไปใช้ผลการวิจัยสรุปได้ว่า สภาพการบริหารผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง มีปัญหาบุคลากรที่ รับผิดชอบขาดความรู้ ความเข้าใจ และทักษะปฏิบัติ ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับครูสังกัด โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทยที่ควรจะเป็นคือ ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานที่ บูรณาการผลการปฏิบัติงานระดับองค์การและระดับบุคคล ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก คือ 1. องค์ประกอบด้านการวางแผน 2. องค์ประกอบด้านการดำเนินการ 3. องค์ประกอบด้านการกำกับติดตาม 4. องค์ประกอบด้านการทบทวน 5. องค์ประกอบด้านข้อมูลป้อนกลับ แต่ละองค์ประกอบ มีองค์ประกอบย่อยและคุณลักษณะที่แสดงถึงรายละเอียดและวิธีดำเนินการ ที่ ได้รับการตรวจสอบคุณภาพและผ่านการรับรองจากผู้เชี่ยวชาญ โดยมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู่ในเกณฑ์ เหมาะสมมากที่สุด คือในช่วงระดับคะแนน 4.51-5.00 และการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ใน การนำไปใช้กับโรงเรียนจากความคิดเห็นจากผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการและหัวหน้างานบุคคลทุก โรงเรียน โดยมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นอยู่ในเกณฑ์เห็นด้วยระดับมาก ในช่วงระดับคะแนน 3.51-4.50en_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to develop a performance management system for teachers in schools under the St.Gabriel’s foundation of Thailand through the application of descriptive research. Data were collected by using questionnaire to discover the state , problems and ideas in many issues concerning performance management for teachers. The questionnaire was structured based on main components, subcomponents, including essential characteristics, in accordance with concepts, theories and operational definitions of performance management and a performance management system. The interviews with representatives from each group of schools were conducted to obtain additional results used for designing the system, which was verified in terms of quality by experts. The interviews with school directors and a focus group discussion between heads of the academic division and heads of the personnel section of each school were arranged in order to study feasibility and appropriateness of the implementation of the system. The research findings could be summarized that the state of performance management was practised at a medium level. The problem was lack of knowledge , understanding and skills on part of the persons in charge. The performance management system for teachers in schools under the St.Gabriel’s foundation of Thailand should be a performance management system which integrated organizational performance and personal performance, comprising 5 main components. Such components were : 1. Planning, 2. Acting, 3. Monitoring, 4. Reviewing, and 5. Feedback . Each component was composed of subcomponents and characteristics showing the details and methods of operation, examined and certified in terms of quality by experts, with the average value at the highest level (between 4.51-5.00). From the evaluation of feasibility and appropriateness of the implementation of the system, it turned out that the average value fell at a high level (between 3.51-4.50).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.689-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectครู -- การประเมินen_US
dc.subjectสมรรถนะ -- การบริหารen_US
dc.subjectTeachers -- Rating ofen_US
dc.subjectPerformance -- Administrationen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานสำหรับครู สังกัดโรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a performance management system for teachers in schools under the St. Gabriel's Foundation of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.689-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Artip Sornsujitra.pdf70.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.