Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/612
Title: | การศึกษาสภาวะปัจจุบันและแนวโน้มของการใช้ระบบข้อสนเทศทางพาณิชยนาวี : รายงานการวิจัย |
Other Titles: | ระบบข้อสนเทศทางพาณิชยนาวี |
Authors: | อัจฉรา จันทร์ฉาย จินตนา บุญบงการ สุพัตรา บุญมาก |
Email: | [email protected] [email protected] [email protected] |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาพาณิชยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาพาณิชยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการบัญชี |
Subjects: | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ--พาณิชยนาวี พาณิชยนาวี ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ |
Issue Date: | 2534 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษาสภาวะปัจจุบันและแนวโน้มของการใช้ระบบข้อสนเทศทางพาณิชยนาวี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบสถานภาพปัจจุบันของการให้คอมพิวเตอร์และระบบข้อสนเทศทางพาณิชยนาวี ศึกษาแนวโน้มการนำคอมพิวเตอร์และระบบข้อสนเทศในอนาคต อีกทั้งศึกษาปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ การศึกษาได้ศึกษาแบบจากสัมภาษณ์ลึก (Depth Interview) จากดูงานและการออกแบบสอบถาม มีธุรกิจตอบแบบสอบถาม 106 ราย ประกอบด้วยบริษัทเดินเรือ ตัวแทนจัดการขนส่ง นายหน้าบริษัทเรือ ตัวแทนเดินเรือ ผลปรากฏว่ามีธุรกิจร้อยละ 40.6 ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการ ใช้ระบบ Word processing ร้อยละ 62.8 ส่วนระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้มีเพียงร้อยละ 9.52 ที่ใช้ระบบมินิคอมพิวเตอร์ มีใช้คอมพิวเตอร์ประเภทไมโครคอมพิวเตอร์ร้อยละ 36.19 นโยบายการซื้อคอมพิวเตอร์ไม่ได้เจาะจงว่าจะซื้อคอมพิวเตอร์ที่มีชื่อเสียงเท่านั้น ในแต่ละปีพิจารณาจากการให้บริการหลังขาย ราคาถูก และประสิทธิภาพ ส่วนงานที่นำระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ส่วนใหญ่เป็นงานด้านการเงินและบัญชี งานบริหาร งานด้านการตลาด ส่วนระบบ Data Exchange และ Data Communication นั้นมีไม่กี่กิจการเท่านั้นที่ใช้ระบบนี้ส่วนบุคลากรที่ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบัติการ รองลงมาหัวหน้าแผนก มีการฝึกอบรมภายในให้พนักงานด้านความรู้ในการใช้คอมพิวเตอร์ แนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์ในอนาคต มีแผนที่จะจัดหาภายใน 1-2 ปี ข้างหน้าร้อยละ 51.72% ส่วนสาเหตุที่ยังไม่ได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้เพราะยังไม่มีความจำเป็น และธุรกิจที่จะนำเอาระบบ Network ไปใช้เพียงร้อยละ 20 ส่วนระบบ Software ที่จะนำไปใช้คือระบบบัญชี ระบบระวางเรือ ระบบเงินเดือนและค่าจ้าง และระบบ Inventory ปัญหาที่พบจากการศึกษาพบว่าระบบข้อสนเทศทางพาณิชยนาวีที่นำไปใช้ ยังไม่เป็นระบบ Integrated Management Information System ภายในองค์การและระหว่างองค์การในธุรกิจพาณิชยนาวี การขาดแคลนบุคลากร ดังนั้นการพัฒนาระบบควรให้ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องร่วมมือกันเพื่อพัฒนาระบบให้มีประสิทธิภาพ อีกทั้งสถาบันการศึกษา ควรรเร่งผลิตบุคลากทางด้านนี้ เพื่อสนองต่อความต้องการของธุรกิจได้ |
Other Abstract: | The study is concentrated on the existing situation of future trend of the management information system of the merchant marine business in Thailand. Its objective are as follow: to study the existing use of computers and the information system in the merchant marine business, to know the future trend in usingcomputers in the information system and to identify problems and obstacles related to the use of computers. Depth interviews, questionnaire and observations are used in the study. A set of questionnaires was distributed to ship companies, freight forwarder, ship brokers and ship agents. Out of 106 respendents, 40.6 percent use computers in management, 62.8 use word processing system and only 9.52 admit that the mini-computer system is being used. Micro-computers are used by 36.19 percent of the respendents. Regarding the procurement policy, thebrand does not count what most of the business considere are the after-sale service, the price, and the efficiency. Computer are used in accounting and finance, management and marketing. Most of the softwares being used were developed by either the sale companies on by their own. The data exchange and data communication systems are rarely used. The users are among those in the operation level and department neads. Training as the use of computers are offered to their personnel. Regarding the future trend, 51.72 percent reveal that they have a plan to get computers within are on two years. They do not them now because they do not see the necossity. The network system is being used only by 20 percent of the respondents. The software system in use are the accounting system, wage and salary system and inventory system. The problems found by the study is related to the fact that the information system they use is not the Integrated Management Information Systems within their own agency and among agencies, and the lack of qualified personnel. Cooperation among the agencies concerned should be encouraged to develop the system. Educational institutions should increase the qualified products in this field to meet the demands. |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/612 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Acctn - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Achara(st).pdf | 5.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.