Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธวัชชัย ตันฑุลานิ-
dc.contributor.authorมงคล สุขวัฒนาสินิทธิ์-
dc.contributor.authorบงกช พิภูษณะนาคทนต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.date.accessioned2008-03-07T02:32:12Z-
dc.date.available2008-03-07T02:32:12Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6183-
dc.description.abstractทำการสังเคราะห์สารใหม่สองชนิด คือ อนุพันธ์ของเอโซเบนซีนคราวน์อีเทอร์คาลิก[4]ซารีน, 10 และ 11 โดยมีวิธีที่แตกต่างกันได้ 2 วิธี วิธีแรกเตรียมได้จากการนำอีทอกซีไนโตรเบนซีน 2 กลุ่มมาเชื่อมต่อกับวงของคาลิก[4]ซารีนในตำแหน่งที่ 1 และ 3 แล้วนำผลิตภัณฑ์ที่ได้มาทำปฏิกิริยารีดักชันโดยใช้โลหะสังกะสีเป็นตัวรีดิวส์ในสารละลายอัลคาไลน์ ได้ผลิตภัณฑ์ 10 และ 11 ปริมาณ 8% และ 12% ตามลำดับ ในวิธีที่ 2 ได้ทำการเตรียมเอโซเบนซีนที่ประกอบด้วยสายของไกลโคลิก 2 สายขึ้นก่อนแล้วนำไปต่อเข้ากับวงของคาลิก[4]ซารีน เปอร์เซนต์ผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ 5% และ 8% สำหรับลิแกนด์ 10 และ 11 ตามลำดับ การสังเคราะห์ด้วยวิธีนี้ให้ปริมาณผลผลิตต่ำกว่าในกรณีแรก ผลึกของสาร 10 ที่เหมาะสมกับการวิเคราะห์ด้วยวิธีเอกซ์เรย์คริสตัลโลกราฟฟีได้มาจากการตกผลึกในเมทานอล ผลที่ได้จากทั้งเอกซเรย์และโปรตอนเอ็นเอ็มอาร์ชี้ให้เห็นว่า สเตอริโอไอโซเมอร์ของส่วนเอโซเบนซีนของสาร 10 อยู่ในรูปทรานส์และส่วนของคาลิก[4]ซารีนยังคงอยู่ในรูปโคนคอนฟอร์เมชัน โปรตอนเอ็นเอ็มอาร์สเปกโตรสโกปีของสาร 10 แสดงให้เห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงไอโซเมอร์จากทรานส์เป็นซิสเมื่อฉายแสดงยูวีหรือวางทิ้งไว้ภายใต้แสงไฟจากห้องปฏิบัติการโดยมีอัตราส่วนของซิสต่อทรานส์เป็น 33:67 ตามลำดับ สาร 6 ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสาร 11 แสดงพฤติกรรมฟลักซิโอนอลและพบว่ามีคอนฟอร์เมชันของวงคาลิก[4]ซารีนแบบผสมระหว่างโคนและพาร์เชียลโคนโดยมีอัตราส่วนเป็น 47:53 ที่ -30 องศาเซลเซียส โปรตอนเอ็นเอ็มอาร์ของสาร 11 แสดงให้เห็นว่า 11 นั้น เริ่มต้นอยู่ในรูปของซิสไอโซเมอร์และมีคอนฟอร์เมชันของคาลิก[4]ซารีนเป็นโคน จากนั้นมีการเปลี่ยนแปลงคอนฟอร์เมชัน โดยการหมุนของวงเฟนิลบนหน่วยคาลิก[4]ซารีนเมื่อกระทบแสง การศึกษาการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของสาร 10 กับเกลือพิเครทของโซเดียมและโพแทสเซียมไอออนโดยวิธีโปรตอนเอ็นเอ็มอาร์สเปกโตรสโกปีพบว่าโซเดียมไอออนชอบจับกับ 10 ในรูปซิสไอโซเมอร์ ในขณะที่โปแตสเซียมไอออนชอบจับกับรูปทรานส์ไอโซเมอร์ ส่วนสาร 11 พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงไอโซเมอร์ของหน่วยเอโซเบนซีนจากซิสไปทรานส์เป็นบางส่วนเมื่อเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับโพแทสเซียมไอออนen
dc.description.abstractalternativeTwo new azobenzene crown ether calix[4]arenes, 10 and 11, were synthesized by two pathways. In the first pathway, two ethoxy nitrobenzene groups were attached to t-butylcalix[4]areanes in a 1,3 position. Subsequent reduction of the nitrobenzene groups by metallic zinc in an alkaline solution afforded 10 and 11 in 8% and 12%, respectively. In the second pathway, an azobenzene contatining two glycolic units was prepared prior connecting to t-butylcalix[4]areanes. The yields from the second approach (5%, 8% for 10 and 11, respectively) were lower than those from the former approach. Single crystals of 10 suitable for X-ray crystallography was obtained by recrystallization in methanol. Both the X-ray structure and [superscript 1]H-NMR spectra of 10 indicated that the stereoisomer of the azobenzene moiety was trans and the calixarene platform was in cone conformation. [superscript 1]H NMR spectroscopy suggested that 10 underwent an observable cis-trans isomerization in CDCl[subscript 3] under room light and uponUV irradiation with cis:trans ratios of 33:67 and 36:64, respectively. Compound 6 which was the precursor of 11 showed fluxional behavior and was found to have mixed conformations of cone and partial cone with a ratio of 47:53 at -30 degrees Celsius. [superscript 1]H-NMR spectrum of 11 suggested that 11 was initially isolated as cis azobenzene with calix[4]arene in cone conformation and underwent conformational interconversion through calix[4]arene annulas in a similar fashion 6 upon exposing to right. The complexation studies of 10 with picrate salts of Na[superscript +] and K[superscript +] using [superscript 1]H NMR spectroscopy suggested that Na [superscript+] preferred to bind the cis from of 10 while K[superscript +] preferred to bind the trans form. The stereoisomer of the azobenzene unit in 11 changed partially from cis to trans upon complexing with K[superscript +]en
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2542en
dc.format.extent14969867 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์ลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเอโซเบนซีนen
dc.subjectคราวน์อีเธอร์en
dc.subjectโฟโตไอโซเมอไรเซชันen
dc.subjectไอออนen
dc.titleการศึกษาโฟโตไอโซเมอไรเซชันของเอโซเบนซีนคราวน์อีเธอร์คาลิก[4]ซารีนเพื่อการสกัดไอออนของโลหะแแอลคาไลแบบเลือกจับ : รายงานฉบับสมบูรณ์en
dc.title.alternativePhotoisomerization studies of azobenzene crown ether caliz[4]arenes for the selective alkali metal ion extractionen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thawatchai_Photo.pdf5.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.