Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61864
Title: | Culture and employee engagement of Thai employees : case study of south Korean multinational corporations in Thailand |
Other Titles: | วัฒนธรรมและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานชาวไทย กรณีศึกษาบริษัทข้ามชาติของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศไทย |
Authors: | Thida Roungtheera |
Advisors: | Sineenat Sermcheep |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | International business enterprises -- Korea Organizational commitment Employee loyalty บรรษัทข้ามชาติ -- เกาหลี ความผูกพันต่อองค์การ ความภักดีของลูกจ้าง |
Issue Date: | 2012 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The objective of this study is to examine the differences between culture in South Korean multinational corporations (MNCs) in Thailand and Korean culture in South Korea companies in South Korea. In addition, this study analyzes the relationship between culture satisfaction and employee engagement of Thai employees in South Korean MNCs in Thailand. This study uses the questionnaire to survey 243 Thai employees who work in South Korean MNCs in Thailand. These three MNCs can be classified into a small MNC, a medium MNC and a large MNC. The result of this study shows that the culture in South Korean MNCs in Thailand has lower uncertainty avoidance than those in South Korean companies in South Korea. This means that the South Korean MNCs in Thailand have more comfortable atmosphere than the South Korean companies in South Korea. While the relationship in the company is in form of leaders and subordinates (power distance), preference to work in group (collectivism), the importance of men in company (masculine), and emphasizing on persistence and thrift (long-term orientation) which are characteristics of Korean MNCs in Thailand are similar to the culture in the South Korean companies in South Korea. Moreover, there is a positive relationship between culture satisfaction and employee engagement of Thai employees in South Korean MNCs in Thailand. Thai workers with higher culture satisfaction tend to have higher employee engagement. Considering in each company’s size, there are difference in degree of this relationship. A small MNC has a positive relationship at medium level, while the medium and large MNCs have positive relationships at high level. |
Other Abstract: | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมในบริษัทข้ามชาติของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศไทยกับวัฒนธรรมในบริษัทของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี และเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในวัฒนธรรมและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานไทยในบริษัทข้ามชาติของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศไทย การศึกษานี้ใช้แบบสอบถามในการสำรวจข้อมูลจากพนักงานไทยในบริษัทข้ามชาติของสาธารณรัฐเกาหลีจำนวน 243 คน โดยสำรวจจาก 3 บริษัทคือ บริษัทขนาดเล็ก บริษัทขนาดกลาง และบริษัทขนาดใหญ่ ผลการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมในบริษัทของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศไทยมีลักษณะของการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนในระดับต่ำกว่าวัฒนธรรมในบริษัทของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ซึ่งหมายความว่าบริษัทของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศไทยมีบรรยากาศในที่ทำงานที่ตึงเครียดน้อยกว่าวัฒนธรรมในบริษัทของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ในขณะที่ความสัมพันธ์ของพนักงานในบริษัทเป็นแบบเจ้านายและลูกน้อง (มีความเหลื่อมล้ำทางอำนาจ), พนักงานเน้นทำงานเป็นกลุ่ม (มิติความเป็นกลุ่ม), ผู้ชายมีโอกาสในการเลื่อนตำแหน่งและมีบทบาทสำคัญในบริษัท (มิติความเป็นชาย) และ บริษัทมีการวางแผนในระยะยาวโดยมุ่งเน้นที่ความต่อเนื่องของผลงาน และความประหยัด (มิติการมุ่งเน้นเป้าหมายระยะยาว) เป็นลักษณะของบริษัทของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศไทยมีความคล้ายคลึงกันกับวัฒนธรรมในบริษัทของสาธารณรัฐเกาหลีในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี นอกจากนี้ พบว่าความพึงพอใจในวัฒนธรรมกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานไทยมีความสัมพันธ์ทางบวก กล่าวคือ สำหรับพนักงานไทยที่มีความพึงพอใจในวัฒนธรรมในองค์กรในระดับสูงกว่า จะมีความรู้สึกผูกพันต่อองค์กรในระดับที่สูงกว่า นอกจากนี้ บริษัทที่มีขนาดต่างกัน จะมีระดับของความสัมพันธ์ที่แตกต่างกันด้วย โดยบริษัทขนาดเล็กมีความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างความพึงพอใจในวัฒนธรรมขององค์กรและความผูกพันต่อองค์กรในระดับปานกลาง ในขณะที่บริษัทขนาดกลางและขนาดใหญ่ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Korean Studies (Inter-Disciplinary) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61864 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.350 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2012.350 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thida Roungtheera.pdf | 963.72 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.