Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62568
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัมพิกา ไกรฤทธิ์-
dc.contributor.advisorชลัช ชวกุล-
dc.contributor.authorศิริรักษ์ เนตรรัตนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-08-01T03:52:42Z-
dc.date.available2019-08-01T03:52:42Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746338315-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62568-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการออกแบบและวิเคราะห์การทดลองของการใช้ก๊าซโอโซนทำลายเชื้อจุลินทรีย์ในอากาศของห้องเจาะเก็บโลหิต ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยและหาเงื่อนไขที่เหมาะสมของการศึกษานี้ โดยจะนำปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อการทำลายเชื้อจุลินทรีย์ของก๊าซโอโซนที่สามารถควบคุมได้มาทำการออกแบบการทดลองซึ่งจากการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลดังกล่าวนั้นได้แก่ อัตราการไหลของก๊าซออกซิเจนและเวลาในการป้อนก๊าซออกซิเจนเข้าสู่เครื่องกำเนิดก๊าซโอโซน แต่เนื่องจากการทดลองมีข้อจำกัดในเรื่องพิษตกค้างของก๊าซโอโซนจะต้องอยู่ในระดับที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ จึงได้ทำการทดลองตาม Screening Design ซึ่งเป็นแผนการทดลองแบบแฟคโทเรียลชนิดไม่สมบูรณ์โดยที่ใช้ระดับความปลอดภัยของพิษตกค้างก๊าซโอโซนมาเป็นเกณฑ์ในการออกแบบด้วย แล้วแยกการวิเคราะห์การทดลองออกเป็น 5 กลุ่มตามหลักการของ Factorial design ซึ่งพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการทดลองประกอบด้วยปัจจัยหลักทั้งสิ้น 2 ปัจจัย คือ อัตราการไหลของก๊าซออกซิเจนและเวลาในการป้อนก๊าซออกซิเจนเข้าสู่เครื่องกำเนิดก๊าซโอโซน หลังจากนั้นจึงได้ทำการสร้างสมการคณิตศาสตร์โดยอาศัยหลักการของ Orthogonal Polynomial และหาค่าที่เหมาะสมในการทดลองโดยพิจารณาจากสมการและข้อกำหนดในการออกแบบของเครื่องกำเนิดก๊าซโอโซนเครื่องนี้ ซึ่งพบว่าเงื่อนไขที่เหมาะสมดังกล่าวคือ อัตราการไหลของก๊าซออกซิเจน 10 ลิตร/นาที และเวลาในการป้อนก๊าซออกซิเจน 16 นาที-
dc.description.abstractalternativeThis thesis addresses the design and analysis of experiment utilizing ozone gas in fumigation at National Blood Center, Thai Red Cross Society and searches the suitable condition for this research by studying factors that effect it. The factors are flow rate of oxygen gas and feeding time of oxygen gas to ozone generator. Because of toxicity of residual ozone gas, the full factorial, a technique of statistic design is applied to screening design which is uncomplete factorial design. Grouping the experiment into 5 groups and analyzing them by principle of factorial design. It is found that two significant factors affecting the percentage of reduced micro-organism are main factors type. The main factors are flow rate of oxygen gas and feeding time of oxygen gas to ozone generator. Using the principle of orthogonal polynomial for setting the mathematical equations from the results and searching the suitable values from these equations and limitation of the design of this ozone generator. It is found that the suitable values are 10 litres per minute of flow rate of oxygen gas and 16 minutes of feeding time of oxygen gas.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectอาคาร -- การรมฆ่าเชื้อ-
dc.subjectโอโซน-
dc.subjectBuildings -- Fumigation-
dc.subjectOzone-
dc.titleการวิเคราะห์เงื่อนไขที่เหมาะสมสำหรับการใช้การใช้ก๊าซโอโซน ในการฆ่าเชื้อโรคที่ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย-
dc.title.alternativeAnalysis of suitable condition for utilizing ozone gas in fumigation at the blood center of the Thai Redcross Society-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirirak_ne_front_p.pdf9.7 MBAdobe PDFView/Open
Sirirak_ne_ch1_p.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open
Sirirak_ne_ch2_p.pdf26.43 MBAdobe PDFView/Open
Sirirak_ne_ch3_p.pdf17.44 MBAdobe PDFView/Open
Sirirak_ne_ch4_p.pdf9.05 MBAdobe PDFView/Open
Sirirak_ne_ch5_p.pdf12.62 MBAdobe PDFView/Open
Sirirak_ne_ch6_p.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open
Sirirak_ne_back_p.pdf45.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.