Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6307
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิมลรัตน์ ตระการพฤกษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-03-20T02:26:09Z | - |
dc.date.available | 2008-03-20T02:26:09Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6307 | - |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ได้ทำการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยารูทีเนียมรองรับบนพอลิเมอร์ โดยใช้ 2%, 5% และ 10% ไดไวนิลเบนซิน คลอโรเมทิเลเท็ดพอลิ(สไตรีน-โค-ไดไวนิลเบนซิน) ทำปฏิกิริยากับไบเดนเตทลิแกนด์ที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (2-อะมิโนพิริดีน และ 1, 3-ไดอะมิโนโพรเพน) หลังจากนั้น นำพอลิเมอร์ที่มีลิแกนด์ติดอยู่มาทำปฏิกิริยากับรูทีเนียมไทรคลอไรด์ ได้ตัวเร่งปฏิกิริยาสารเชิงซ้อนรูทิเนียมบนตัวรองรับพอลิเมอร์ ตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิค FTIR (Fourier transform infrared spectroscopy), XRF (X-ray fluorescence), EA (elemental analysis, การวิเคราะห์ธาตุ) และสมบัติเชิงความร้อน ด้วย TGA (thermal gravimetric analysis) และใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับไฮโดรจิเนชันของไซโคลออกทีน โดยศึกษาการเกิดปฏิกิริยาโดยแปรเปลี่ยนพารามิเตอร์ต่างๆ ที่มีผลต่อปฏิกิริยา ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ความดันของแก๊สไฮโดรเจนและ ปริมาณของตัวเร่งปฏิกิริยา พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมขึ้นสามารถเร่งปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของไซโคลออกทีนให้ผลิตภัณฑ์เป็นไซโคลออกเทนในปริมาณสูง (> 90%) นอกจากนี้ ได้ทำการทดสอบการหลุดออกของตัวเร่งปฏิกิริยา และการนำกลับมาใช้ซ้ำอีกครั้งด้วย | en |
dc.description.abstractalternative | In this work, ruthenium catalysts supported on polymer were prepared using 2%, 5% and 10% chloromethylated poly(styrene-co-divinylbenzene). The polymer was reacted with bidentate ligand containing nitrogen (2-aminopyridine and 1,3-diaminopropane). Then, the polymer attached with ligand was reacted with ruthenium trichloride, to obtain the ruthenium catalysts on the polymer support. They were characterized with FTIR (Fourier transform infrared spectroscopy), XRF (X-ray fluorescence), EA (elemental analysis) and studied thermal property with TGA (thermal gravimetric analysis). The ruthenium catalysts were used in the hydrogenation of cyclooctene, by varying parameters affecting the reaction: temperature, time, hydrogen pressure and amount of catalyst. It was found that the synthesized catalysts can catalyze the hydrogenation of cyclooctene to obtain cyclooctane as a single product in high yield (>90%). In addition, the leaching of catalyst from the support and the recycling were also tested. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2546 | en |
dc.format.extent | 3699694 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ไฮโดรจีเนชัน | en |
dc.subject | ตัวเร่งปฏิกิริยา | en |
dc.subject | โพลิเมอร์--การสังเคราะห์ | en |
dc.subject | รูทีเนียม | en |
dc.title | ตัวเร่งปฏิกิริยารูทีเนียมบนตัวรองรับพอลิเมอร์สำหรับไฮโดรจิเนชัน : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Polymer-supported ruthenium catalyst for hydrogenation | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wimonrat(poly).pdf | 3.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.