Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6316
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เยาวลักษณ์ อัมพรรัตน์ | - |
dc.contributor.author | พรชัย สุธาทร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | กรมพัฒนาที่ดิน | - |
dc.date.accessioned | 2008-03-20T06:12:57Z | - |
dc.date.available | 2008-03-20T06:12:57Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6316 | - |
dc.description.abstract | เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในหมู่นักวิชาการและเกษตรกรว่า การใช้อินทรีย์วัตถุไม่ว่าในรูปของเศษวัสดุที่นำมาทำปุ๋ยหมัก หรือในรูปของสารสกัด กรดฮิวมิก มีผลในการปรับปรุงบำรุงดินและเพิ่มผลผลิตของข้าวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อย่างไรก็ตามเรายังขาดข้อมูลการเปรียบเทียบระหว่างประสิทธิภาพของการใช้อินทรีย์วัตถุดังกล่าว และผลการใช้อินทรีย์วัตถุทั้งสองชนิดร่วมกัน ดังนั้นจุดประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ก็เพื่อหาคำตอบดังกล่าวข้างต้น โดยคัดเลือกแปลงนาของเกษตรกร จังหวัดศรีสะเกษ อำเภออุทุมพรพิสัยและอำเภอห้วยทับทัน จำนวน 10 แปลง แต่ละแปลงมีพื่นที่ 4 ไร่ เพื่อศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยหมัก, ฮิวมิก้า (กรดฮิวมิก) ร่วมกับปุ๋ยหมักและปุ๋ยเคมี โดยใช้แปลงที่ใช้ปุ่ยเคมีอย่างเดียงเป็นแปลงเปรียบเทียบ ซึ่งผลปรากฏว่า ผลผลิตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งปลูกในดินชุดร้อยเอ็ด ในแปลงที่ใช้ฮิวมิก้า 1 ลิตรต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีและปุ่ยหมัก 1 ตันต่อไร่ แปลงที่ใช้ปุ่ยเคมีและปุ๋ยหมัก 2 ตัน แปลงที่ใช้ปุ๋ยเคมีและฮิวมิก้า 2 ลิตรต่อไร่ และแปลงที่ใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวให้ผลผลิตเฉลี่ย 46.52 ถังต่อไร่ 43.46 ถังต่อไร่ 42.97 ถังต่อไร่ และ 32.39 ถังต่อไร่ ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า แปลงที่ใช้ ฮิวมิก้า (กรดฮิวมิก) ร่วมกับปุ๋ยเคมีและปุ๋ยหมัก 1 ตัน ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด โดยสูงกว่าแปลงเปรียบเทียบ ซึ่งใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวถึง 14.13 ถังต่อไร่ คิดเป็นผลผลิตเพิ่มขึ้นถึง 43.62% โดยเฉพาะอย่างยิ่งแปลงที่ 7 ผลผลิตเพิ่มขึ้นถึง 23.1 ถังต่อไร่ หรือเพิ่มขึ้นถึง 71.96% สรุปได้ว่าการใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับกรดฮิวมก ให้ผลดีที่สุด คือ ดีกว่าใช้ปุ๋ยหมักอย่างเดียวหรือกรดฮิวมิกล้วน ๆ นอกจากนี้กรดฮิวมิกยังสามารถใช้ทดแทนปุ๋ยหมักได้เป็นอย่างดี ในกรณีที่เกษตรกรไม่สามารถหาปุ๋ยหมักหรือเศษวัสดุในท้องถิ่นได้เพียงพอ | en |
dc.format.extent | 1353461 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ดิน | en |
dc.subject | ความสมบูรณ์ของดิน | en |
dc.subject | กรดฮิวมิก | en |
dc.subject | กรดอินทรีย์ | en |
dc.subject | ปุ๋ยหมัก | en |
dc.title | การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ | en |
dc.title.alternative | Soil improvement with organic matter | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | [email protected] | - |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Yaowalak(soil).pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.