Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6340
Title: | การศึกษาตัวแปรที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการออกแบบระบบผลิตน้ำร้อนแสงอาทิตย์ : รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย |
Authors: | มานิจ ทองประเสริฐ ศิริจันทร์ ทองประเสริฐ |
Email: | [email protected], [email protected] [email protected] |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Subjects: | พลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องทำน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ การผลิตน้ำร้อน -- ระบบแสงอาทิตย์ |
Issue Date: | 2527 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้เป็นไปเพื่อการศึกษาตัวแปรที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการออกแบบระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจเลือกระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ที่เหมาะสม โดยอาศัยการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ร่วมกับการออกแบบระบบผลิตน้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ โดยการจำลองแบบปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ พบว่า ขนาดถังเก็บน้ำร้อนที่ประหยัด คือ 65 ลิตร/ม[superscript 2] (พื้นที่รับแสง) สำหรับระดับอุณหภูมิน้ำร้อนที่นำไปใช้งานเท่ากับ 60 degrees Celsius และเท่ากับ 55 ลิตร/ม[superscript 2] สำหรับอุณหภูมิน้ำร้อนเท่ากับ 70 degrees Celsius ส่วนขนาดพื้นที่รับแสงที่เหมาะสมมีความแปรเปลี่ยนตามลักษณะของแผงรับแสงอาทิตย์ ประเภทของผู้ใช้น้ำร้อน และพารามิเตอร์ทางเศรษฐศาสตร์ จากขนาดพื้นที่รับแสงที่เหมาะสมได้ทำการวิเคราะห์หามูลค่าปัจจุบันและมูลค่าเทียบเท่ารายปีของระบบฯเพื่อใช้สำหรับเปรียบเทียบกับระบบผลิตน้ำร้อนที่ใช้เชื้อเพลิงชนิดอื่น นอกจากนั้นยังได้ทำการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนการลงทุนเมื่อต้องการจะติดตั้งระบบฯเข้าไปใช้ร่วมกับระบบผลิตน้ำร้อนเดิม โดยที่ระบบฯจะช่วยให้ผู้ลงทุนประหยัดค่าเชื้อเพลิง แต่จากการวิเคราะห์พบว่าการติดตั้งระบบฯเพื่อลดค่าเชื้อเพลิงนั้นจะคุ้มกับเงินลงทุนก็ต่อเมื่อราคาของระบบฯไม่เกิน 6000 บาท/ม[superscript 2] และระบบเดิมใช้ไฟฟ้าในการผลิตน้ำร้อน |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6340 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Manij_sunpower.pdf | 26.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.