Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63401
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThanyawee Puthanakit-
dc.contributor.authorSuvaporn Anugulruengkitt-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicine-
dc.date.accessioned2019-09-14T03:13:02Z-
dc.date.available2019-09-14T03:13:02Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63401-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2018-
dc.description.abstractBackground: Triple-drug antiretroviral prophylaxis of zidovudine (ZDV)/lamivudine (3TC)/nevirapine (NVP) for high risk HIV-exposed neonates is recommended within the Thai national program. However, there are limited data about the safety and drug concentration achieved with this regimen initiated at birth. Objectives: This study aims to evaluate the safety of this triple drug neonatal prophylaxis regimen and to describe nevirapine concentration levels during the first 4 weeks of life. Methods: A prospective cohort of HIV-exposed infants was conducted at 5 clinical sites in Thailand.  We enrolled 100 high-risk HIV-exposed neonates (maternal HIV RNA >50 copies/mL prior to delivery or received antiretroviral therapy (ART) <12 weeks) who received ZDV/ 3TC twice daily, plus NVP (4 mg/kg/dose) once daily, from birth for 6 weeks, and 100 standard-risk HIV-exposed neonates who received a 4-week regimen of ZDV. Blood tests to assess hematologic and liver toxicities were performed at birth, 1, 2 and 4 months of life. Sparse plasma NVP concentrations were collected at day 1, 2, 7, 14, and 28 and assayed by a validated liquid chromatography-mass spectrometry assay. Results: From October 2015 to November 2017, 200 infants were enrolled. Median (IQR) gestational age and birth weight were 38 (37-39) weeks and 2,873 (2,590-3,184) g, respectively. Common maternal ART regimens were TDF/3TC or emtricitabine (58%), ZDV/3TC (32%) in combination with efavirenz (50%), ritonavir boosted protease inhibitor (31%). There was no significant difference of adverse events between triple prophylaxis and ZDV alone; percentage of anemia 69.8% vs 66.3%, p=0.46. Median (IQR) hemoglobin level among infants who received triple prophylaxis were 9.9 (9.0-11.4) g/dL, 10.1 (9.3-11.0), and 11.7 (11.0-12.3) at aged 1, 2 and 4 months, respectively, which did not significantly differ between groups. Rate of HIV transmission among definite HIV-exposed high risk infants was 1.7% (95% CI 0.3%-8.9%). NVP concentrations were available from 48 infants (135 samples); median predicted NVP Ctrough were 1.34 mg/L, 2.24, 2.78, 2.20, and 0.81 on days 1, 2, 7, 14, and 28 of life, respectively. All infants maintained NVP concentrations above the proposed prophylactic target threshold of 0.1 mg/L during the first 4 weeks. Conclusions: Six-weeks of ZDV/3TC/NVP in HIV-exposed infants did not increase the risk of toxicity compared with an ZDV regimen. Administration of 4 mg/kg of NVP from birth provided adequate NVP concentrations for prophylaxis during the first 4 weeks of life.-
dc.description.abstractalternativeทารกแรกเกิดที่คลอดจากมารดาติดเชื้อเอชไอวีควรได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวีสูตรป้องกันอย่างเหมาะสม เพื่อลดโอกาสการติดเชื้อจากการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูกระหว่างตั้งครรภ์หรือหลังสัมผัสเชื้อระหว่างการคลอด โดยการใช้สูตรยาต้านไวรัส 3 ชนิดเพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังสัมผัสเช่นเดียวกับการป้องกันหลังสัมผัสเชื้อในผู้ใหญ่ ในประเทศไทย ทารกกลุ่มเสี่ยงสูงที่เกิดจากมารดาติดเชื้อเอชไอวีจะได้รับยาป้องกันการติดเชื้อ 3 ชนิด เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ สูตรยาคือไซโดวูดีน (zidovudine, ZDV), ลามิวูดีน (lamivudine, 3TC) และ เนวิราพีน (nevirapine, NVP) อย่างไรก็ตาม ข้อมูลด้านผลข้างเคียงและระดับยาเนวิราพีนยังมีจำกัดในการให้ยาสูตรนี้ วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาความปลอดภัยของการใช้ยาป้องกันการติดเชื้อสูตร 3 ตัวในทารกเสี่ยงสูงที่เกิดจากมารดาติดเชื้อเอชไอวี และเพื่อศึกษาระดับยาเนวิราพีนในทารก วิธีการศึกษาวิจัย: การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์แบบไปข้างหน้า ในโรงพยาบาล 5 แห่งในประเทศไทย ผู้เข้าร่วมโครงการคือทารกที่เกิดจากมารดาเอชไอวี 200 คน กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาคือทารกกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อเอชไอวีจากมารดา 100 คน โดยพิจารณาจากระดับไวรัสเอชไอวีในมารดามากกว่า 50 copies/mL หรือมารดาได้รับยาต้านไวรัสน้อยกว่า 12 สัปดาห์ก่อนคลอด ในกลุ่มนี้ทารกจะได้รับยา ZDV/3TC วันละ 2 ครั้ง และ NVP 4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม วันละครั้ง ตั้งแต่แรกเกิดจนอายุ 6 สัปดาห์ นอกจากนี้จะเก็บข้อมูลจากทารกอีก 100 คน ที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการติดเชื้อเอชไอวีจากมารดา เพื่อเป็นกลุ่มเปรียบเทียบ ในกลุ่มนี้ทารกได้ยา ZDV นาน 4 สัปดาห์ ทำการตรวจเลือดทารกทั้งสองกลุ่มเพื่อประเมินผลข้างเคียงที่แรกเกิดและอายุ 1, 2 และ 4 เดือน นอกจากนี้ จะทำการตรวจวัดระดับยาเนวิราพีนในทารกที่ได้ยาเนวิราพีนจำนวน 50 คน ผลการศึกษา: เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 จากทารกที่เกิดจากมารดาเอชไอวี 200 คน พบว่า ค่ามัธยฐานของอายุครรภ์เท่ากับ 38 สัปดาห์ (IQR 37-39) ค่ามัธยฐานน้ำหนักแรกเกิด 2,873 กรัม (IQR 2,590-3,184) สูตรยาต้านไวรัสที่มารดาได้รับมากที่สุดคือ tenofovir/3TC หรือ emtricitabine ร้อยละ 58, ZDV/3TC ร้อยละ 32 ร่วมกับ efavirenz ร้อยละ 50, ritonavir boosted protease inhibitor ร้อยละ 31 ค่ามัธยฐาน (IQR) ของระดับฮีโมโกลบินในทารกที่ได้รับยาสูตรสามตัว ที่อายุ 1, 2 และ 4 เดือน คิดเป็น 9.9 (9.0-11.4) g/dL, 10.1 (9.3-11.0), and 11.7 (11.0-12.3) ตามลำดับ อัตราการเกิดภาวะซีดในทารกที่ได้รับยาสูตร 3 ตัวกับยา 1 ตัว คิดเป็นร้อยละ 69.8 และ 66.3 ตามลำดับ และไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างสองกลุ่ม อัตราการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในทารกกลุ่มเสี่ยงสูงคิดเป็น ร้อยละ 1.7 (ช่วงความเชื่อมั่น 95%: 0.3%-8.9%) ระดับยาเนวิราพีนจากการตรวจในทารก 48 คน 135 ตัวอย่าง ค่ามัธยฐานระดับยาเนวิราพีน (predicted NVP C24) คิดเป็น 1.34 mg/L, 2.24, 2.78, 2.20 และ 0.81 ที่อายุ 1, 2, 7, 14, และ 28 วัน โดยรวมระดับยาเนวิราพีนมีค่าเกินระดับที่ต้องการในการป้องกันการติดเชื้อ คือ มากกว่า 0.1 mg/L ในทารกทุกรายในช่วงอายุ 4 สัปดาห์แรก สรุป: การให้ยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในทารกด้วยสูตร ZDV/3TC/NVP นาน 6 สัปดาห์ในทารกกลุ่มเสี่ยงสูง ไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่แตกต่างจากกลุ่มที่ได้รับยา ZDV นาน 4 สัปดาห์ นอกจากนี้การให้ยาเนวิราพีนขนาด 4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทำให้มีระดับยาเพียงพอต่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในทารกในช่วง 4 สัปดาห์แรกหลังคลอด-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.144-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subject.classificationMedicine-
dc.titleAdverse events of antiretroviral prophylaxis regimen for elimination and prevention of mother-to-child transmission among HIV-exposed infants-
dc.title.alternativeผลข้างเคียงของยาต้านไวรัสที่ใช้เพื่อป้องกันการติดเชื้อสำหรับทารกที่คลอดจากมารดาติดเชื้อเอชไอวี-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameDoctor of Philosophy-
dc.degree.levelDoctoral Degree-
dc.degree.disciplineClinical Sciences-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.144-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5874860730.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.