Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63743
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโชติกา ภาษีผล-
dc.contributor.advisorศิริเดช สุชีวะ-
dc.contributor.authorณัฐา เพชรธนู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-28T10:07:16Z-
dc.date.available2019-09-28T10:07:16Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63743-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาระบบการกำกับติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผล การดำเนินงานของครูในด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยประยุกต์ใช้การปฏิบัติอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ 2) ทดลองใช้ระบบการกำกับติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผลการดำเนินงานของครูในด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยประยุกต์ใช้การปฏิบัติอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ และ 3) ศึกษาประสิทธิผลของระบบการกำกับติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผลการดำเนิน งานของครูในด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยประยุกต์ใช้การปฏิบัติอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ผลการออกแบบระบบการกำกับติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผลการดำเนินงานของครูในด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยประยุกต์ใช้การปฏิบัติอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ ตามองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ 1) ด้านปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการประเมิน บุคลากร ขอบเขตเนื้อหา เครื่องมือและเอกสารประกอบ บุคลากร ระยะเวลาในการประเมิน วิธีการให้ข้อมูลป้อนกลับ โดยประยุกต์ใช้ขั้นตอนการปฏิบัติอิงหลักฐาน เชิงประจักษ์ในกระบวนการกำกับติดตาม 2) ด้านกระบวนการประเมิน ประกอบด้วย การเตรียมการกำกับติดตามและประเมินผล การวางแผนการกำกับติดตามและประเมินผล ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์สรุปผลการประเมิน 3) ด้านผลผลิต คือ ผลการประเมินผลการดำเนินงานของครูเป็นรายบุคคล และในภาพรวมของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4) ด้านข้อมูลป้อนกลับ ประกอบด้วย ข้อมูลจากการประเมินประสิทธิผลของระบบ 2.ผลการทดลองใช้ระบบการกำกับติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผลการดำเนินงานของครูในด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยประยุกต์ใช้การปฏิบัติอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ พบว่า ครูส่วนใหญ่ได้รับ การประเมินผลตามตัวบ่งชี้ในระดับดีขึ้นไปทุกด้าน ยกเว้น ด้านปัจจัยนำเข้า องค์ประกอบการวางแผน และด้านผลลัพธ์ องค์ประกอบการพัฒนางานด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฯ ที่พบว่าครูส่วนใหญ่ได้รับการประเมินผลในระดับปานกลาง 3.จากการนำระบบการกำกับติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผลการดำเนินงานของครูในด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยประยุกต์ใช้การปฏิบัติอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ไปใช้ พบว่า ผลการประเมินคุณภาพของระบบการกำกับติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผลดำเนินงาน มีมาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานงานประเมินด้านอรรถประโยชน์ ด้านความเป็นไปได้ ด้านความเหมาะสม และด้านความถูกต้องอยู่ในระดับมากทุกด้านen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) develop the result-based management system of teachers’ learning measurement and evaluation practice application of evidence-based practice 2) implement the result-based management system of teachers’ learning measurement and evaluation practice application of evidence-based practice and 3) verify the effectiveness of the result-based management system of teachers’ learning measurement and evaluation practice application of evidence-based practice. The research results were as follow: 1.Design of the result-based management system of teachers’ learning measurement and evaluation practice application of evidence based practice is comprised of 4 factors 1) input including objective of evaluation, content of teacher’s practice evaluation, indicator, rubrics period of evaluation, and feedback application of evidence-based practice 2) evaluation process including preparation, planning, process, data collection, analyze and evaluation 3) output including evaluation of individual teacher’s practice and primary educational service area office 4) feedback including the information from evaluation the effectiveness of the system 2.Evaluation of pilot practice showed that most of teachers met the high level standards of all evaluation criteria. However, for planning on main activity and the development of teacher’s job about evaluation and measurement on main outcome, that the most of teachers met the evaluation criteria fair level. 3.System implementation showed that the evaluation standard, which is composed of utility standard, feasibility standard, propriety standard, and accuracy standard, was at high level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการประเมินผลทางการศึกษาen_US
dc.subjectครู -- การประเมินen_US
dc.subjectEducational evaluationen_US
dc.subjectTeachers -- Rating ofen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการกำกับติดตามและประเมินผลแบบมุ่งผลการดำเนินงานของครูในด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ : การประยุกต์ใช้การปฏิบัติอิงหลักฐานเชิงประจักษ์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of a result-based monitoring and evaluation system of teachers' learning measurement and evaluation practices : an application of evidence-based practiceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Natha Pethanoo.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.