Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิติ เอี่ยมจำรูญลาภ-
dc.contributor.authorอภินันท์ อิทธิวราภรณ์กุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-12-17T07:28:03Z-
dc.date.available2019-12-17T07:28:03Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64076-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561en_US
dc.description.abstractการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานทดแทน เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ หรือก๊าซชีวภาพนั้นเกิดขึ้นในประเทศไทยมาเป็นเวลานานแล้ว และทางรัฐบาลก็มีนดยบายสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานทดแทนในหลากหลายรูปแบบทั้งที่เป็นมาตรการที่มิใช่ทางภาษีและมาตรการทางภาษี เช่น มาตรการการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน มาตรการการลดหรือยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านทางการรับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI มาตรการเกี่ยวกับภาษีศุลกากร เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม ภายใต้มาตรการส่งเสิรมการลงทุนของประเทศไทยที่มีอยุ่ปัจจุบันนั้น เป็นการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเฉพาะการลงทุนในส่วนของนิติบุคคลที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุนเท่านั้น และมาตรการดังกล่าวเป็นการส่งเสริมการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมที่ผู้ลงทุนมีการนำพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ในกิจการ แต่ในส่วนของกิจการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนนั้นกลับไม่ได้รับสิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ซึ่งผู้ลงทุนไม่สามารถที่จะใช้สิทธิประโยชน์จากมาตรการนี้ได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังไม่มีมาตรการส่งสเริมที่เป็นให้การทั่วไปกับกิจการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ดังนั้น หากมองในด้านของกิจการ บถคคลเหล่านี้ย่อมไม่ได้รับสิทธิประโยชน์จากมาตรการนี้เลย ซึ่งจากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นอาจเป็นเหตุให้มีความไม่แน่นอนและส่งผลให้นักลงทุนขาดความเชื่อมั่น ไม่สามารถสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนได้ นับเป็นอุปสรรคในการเข้ามาประกอบธุรกิจที่เกี่ยวกับพลังงานทดแทนของต่างประเทศมาปรับใช้ โดยทำการพิจารณาตามความเหมาะสมกับประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่ผู้เขียนได้ทำการศึกษา ได้แก่ ประเทศเวียดนามและประเทศเยอรมนีพบว่าการส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงการพลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือกของทั้งสองประเทศมีลักษณะไปในทิศทางเดียวกันกับประเทศไทย กล่าวคือ ทั้งสองประเทศดังกล่าวมุ่งพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนและมีนโยบายต่าง ๆ ที่เป็นการสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อป้องกันการเกิดวิกฤตขาดแคลนพลังงาน ลดปัญหาการเกิดภาวะโลกร้อนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตโดยการส่งเสริมการลงทุนจากภาคเอกชนเพื่อพัฒนาโครงการพลังงานหมุนเวียน ซึ่งประเทศไทยสามารถที่จะศึกษานโยบายการส่งเสิรมการใช้พลังงานทดแทนจากกลุ่มประเทศดังกล่าวเพื่อนำมาปรับใช้ให้มีความเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยได้ จากการศึกษาพบว่าควรผลักดันให้มีมาตรการทางกฎหมายและมาตรการทางภาษีในการสนับสนุนธุรกิจพลังงานทดแทนเป็นการทั่วไป ซึ่งหากประเทศไทยมีมาตรการดังกล่าวและมีการใช้บังคับ ซึ่งจะมีส่วนช่วยดึงดูดให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น และมีผลทำให้ประเทศไทยก็จะมีทางเลือกในการใช้พลังงานมากขึ้นและเป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพลังงานที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตข้างหน้า รวมทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอีกด้วยen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2018.24-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพลังงานทดแทนen_US
dc.subjectการใช้พลังงาน -- ไทยen_US
dc.subjectการยกเว้นภาษีอากรen_US
dc.titleปัญหามาตรการทางภาษีเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.subject.keywordมาตรการทางภาษีen_US
dc.subject.keywordยกเว้นภาษีen_US
dc.subject.keywordการผลิตไฟฟ้าen_US
dc.subject.keywordสิทธิประโยชน์ทางภาษีen_US
dc.subject.keywordการประหยัดพลังงานen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2018.24-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6086244734.pdf57.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.