Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64171
Title: การวิเคราะห์ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ลุ่มน้ำน่าน : การะประยุกต์สำหรับการทำแผนที่แสดงระดับความอ่อนไหวต่อการเกิดน้ำท่วม
Other Titles: Terrain analysis in Nan watershed : application for flood susceptibility mapping
Authors: ฐิตินันท์ เอนกจินดารัตน์
Advisors: สันติ ภัยหลบลี้
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: ลุ่มน้ำ
ลุ่มน้ำน่าน
พื้นที่น้ำท่วมถึง
Watershed
Nan River valley
Floodplains
Issue Date: 2561
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มุ่งวิเคราะห์พื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดน้ำท่วมบริเวณลุ่มน้ำน่าน ด้วยสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model: DEM) ขนาด 30x30 เมตร และโปรแกรม System for Automated Geoscientific Analyses (SAGA-GIS) free software, in version 2.2.5. โดยอาศัยปัจจัยทางธรณีสัณฐาน (ระยะทางแนวตั้งจากลำน้ำและพื้นที่ที่เป็นหลุม ที่ยุบต่ำ) และปัจจัยทางอุทกวิทยา (การไหลบ่าของน้ำบนพื้นผิว,ดัชนีความชุ่มชื้นภูมิประเทศ,พื้นที่รับน้ำ) ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้สามารถกำหนดขอบเขตของสถานการณ์น้ำท่วมและสามารถแบ่งระดับความ อ่อนไหวต่อการเกิดน้ำท่วมได้ โดยจำแนกพื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดน้ำท่วมเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ไม่อ่อนไหวต่อน้ำท่วม อ่อนไหวต่อน้ำท่วมต่ำ อ่อนไหวต่อน้ำท่วมปานกลาง อ่อนไหวต่อน้ำท่วมสูง และอ่อนไหวต่อน้ำท่วมสูง มากสูงมาก ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่บริเวณทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของลุ่มน้ำน่าน ได้แก่ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิจิตร และจังหวัดนครสวรรค์ มีพื้นที่อ่อนไหวต่อน้ำท่วมมากและมากที่สุด จากการ ตรวจสอบข้อมูลพื้นที่น้ำท่วมจริงจากสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ พบว่าพื้นที่อ่อนไหว ต่อการเกิดน้ำท่วมนั้นตรงกับพื้นที่น้ำท่วมสูงจริงจาก GISTDA อยู่ค่อนข้างมาก
Other Abstract: The work aims to identify and cartographically represent sensitive areas (scenarios) to river flooding in the Nan watershed, from the use of digital elevation models (DEM) and System for Automated Geoscientific Analyses (SAGA-GIS) free software, in version 2.2.5. It was produced a DEM with cells of 30 x 30 m hydrologically corrected, obtaining different maps of geomorphological factor (vertical distance from the drainage network and closed depressions) and hydrological factor (surface runoff, topographic wetness index, and modified catchment area). Integrating all this information the contrast index map was obtained, which once reclassified, allowed the spatial delineation of the flood scenarios and their categories of susceptibility. Flood susceptibility zone have been categorized into five risk levels that are none, low, medium, high and very high. The results suggest that the southwest of Nan watershed such as Uttaradit Phitsanulok Phichit and Nakhon Sawan province are the zones of high and very high flood susceptibility levels. From the checking real flooded areas of GISTDA found flood susceptibility area synonymous with real flooded areas of GISTDA is rather more.
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64171
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thitinan_A_Se_2561.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.