Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64825
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนิดา จิตตรุทธะ | - |
dc.contributor.author | ภัทรพงศ์ สาลักษณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-05T07:33:34Z | - |
dc.date.available | 2020-04-05T07:33:34Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64825 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาองค์การรัฐวิสาหกิจไทยในอดีตโดยมากมักเป็นการศึกษาผ่านกรอบแนวคิดและกระบวนทัศน์ของระบบราชการและระบบขนาดใหญ่ ซึ่งได้รับอิทธิพลและแนวคิดจากทฤษฎีระบบ (System Theory) เป็นสำคัญ จึงส่งผลให้รัฐวิสาหกิจไทยถูกวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลจากการดำเนินงานและผลประกอบการแต่เพียงมิติเดียว จนนำไปสู่วาทกรรมที่กล่าวถึงรัฐวิสาหกิจไทยว่าเป็นองค์การขนาดใหญ่แต่ไร้ศักยภาพ ขาดความคล่องตัว เพราะฉะนั้นแล้ว ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้จึงมุ่งศึกษารัฐวิสาหกิจไทยในยุคปัจจุบันผ่านมุมมองของนักเศรษฐศาสตร์องค์การ ซึ่งประกอบไปด้วยทฤษฎีหน่วยทางธุรกิจ (Theory of The Firm) ต้นทุนธุรกรรมการดำเนินงาน (transaction cost) ตัวการ-ตัวแทน (agency) และโครงสร้างทางธุรกรรม (structure of transaction) เพื่ออธิบายถึงรัฐวิสาหกิจไทยในฐานะหน่วยทางธุรกิจ ที่มีความสามารถในการดำเนินธุรกรรมและประสานผลประโยชน์ระหว่างตัวการตัวแทน อันจะนำไปสู่การสร้างกำไรจากผลประกอบการ หรืออย่างน้อยที่สุดก็ต้องไม่ประสบกับภาวะขาดทุน จนต้องพึ่งพาการอุดหนุนและงบประมาณจากภาครัฐ รวมไปถึงการมีจริยธรรมในทางเศรษฐศาสตร์ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดธรรมาภิบาลขึ้นในทุกภาคส่วน ทั้งภายนอกและภายในองค์การ | - |
dc.description.abstractalternative | In the Past, an analysis of Thailand's State-Owned Enterprises generally concentrated on conceptual frameworks and a paradigm of government bureaucracy which had influenced on the system theory concept only. This case was based on overall operation and performance which was an only side to be measured as to the efficiency and effectiveness of the State-Owned Enterprises. Thus, this leads to discourse that says "Thailand's State-Owned Enterprises are large but without potential and are lacking in mobility strategy" In order to explore these issues in the present, this thesis is going to analyze the State-Owned Enterprise information, provided by the authorities and state officials in the form of interviews and questions answered. Questioning issues where based on Theory of The Firm, Transaction Cost, Agency and Structure of Transaction. The State Owned Enterprises that perform well, will have an operational capability to make a profit (Net Profit Margin) avoiding a negative profit margin, or at least that can be considered necessary to maintain government expenses. Moreover, State-Owned Enterprise should have the economic ethics to provide good governances of both internal and external organizations. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1074 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.classification | Social Sciences | - |
dc.title | รัฐวิสาหกิจไทยในมุมมองของนักเศรษฐศาสตร์องค์การ | - |
dc.title.alternative | State enterprise of Thailand in the organizational economists' perspective | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | - |
dc.degree.discipline | รัฐศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2019.1074 | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5681359624.pdf | 1.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.