Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65644
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า-
dc.contributor.authorพิชามญชุ์ กวีผาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-01T08:02:27Z-
dc.date.available2020-05-01T08:02:27Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65644-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractEscherichia coli เป็นแบคทีเรียแกรมลบสายพันธุ์ก่อโรคในระบบทางเดินอาหารในมนุษย์ ส่วนเควอซิทิน เป็นสารประกอบฟลาโวนอยด์ที่พบในพืชและพรอพอลิสจากชันโรง สามารถออกฤทธิ์ทางชีวภาพได้หลากหลาย งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาฤทธิ์ต้านการเติบโตของแบคทีเรีย E. coli top 10 ที่มีพลาสมิด pGem-T vector ของเค วอซิทินที่ละลายใน dimethyl sulfoxide (DMSO) ทำการทดสอบฤทธิ์ต้านการเติบโตของของแบคทีเรียด้วยวิธี disc diffusion assay โดยความเข้มข้นของเควอซิทินที่เลือกใช้ในการทดลองนี้ คือ 0, 0.12, 0.24, 0.36 และ 0.48 กรัมต่อมิลลิลิตร จากการทำการทดลอง 3 ซ้ำ บันทึกผลของเส้นผ่านศูนย์กลางของ clear zone แล้ว วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของ clear zone แปร ผันตามความเข้มข้นของเควอซิทิน ทั้งนี้ความเข้มข้นของเควอซิทินสูงสุดที่เลือกใช้ คือ 0.48 กรัมต่อมิลลิลิตรของ DMSO โดยให้ค่าเส้นผ่านศูนย์กลางของ clear zone กว้างที่สุด คือ 9.23 ± 0.15 มิลลิเมตร จึงเลือกใช้เควอซิทิน ที่ความเข้มข้นนี้มาเลี้ยงร่วมกับ E. coli top 10 ใน nutrient broth จากนั้นนำไปบ่มที่ 37 °C, 130 รอบต่อนาที เป็นเวลา 2 วัน เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม พบว่ามีการเติบโตของ E. coli top 10 ในชุดควบคุมแต่ไม่มีการ เติบโตของเชื้อเลยในชุดที่ได้รับเควอซิทินจึงไม่สามารถนำ culture ของเชื้อมาทำ plasmid isolation และ agarose gel electrophoresis เพื่อสังเกตการย่อยสลายพลาสมิดได้ ในการทดลองครั้งต่อไป จึงควรหาความ เข้มข้นของเควอซิทินที่เหมาะสมต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeEscherichia coli are gram-negative pathogenic bacteria in human gut. Quercetin is a flavonoid compound found in plants and stingless bee propolis. It has a lot of bioactivities. In this work, it was focused on the antibacterial activity of quercetin on E. coli top 10 containing pGem-T vector by disc diffusion assay. Quercetin was dissolved in dimethyl sulfoxide (DMSO). The chosen concentrations of quercetin were 0, 0.12, 0.24, 0.36 and 0.48 g/ml. From 3 replications in experiments, diameter of clear zone was recorded. Data were statistically analyzed by mean and standard deviation. According to the data, the diameter of clear zone was dependent on the concentration of quercetin. The highest concentration of 0.48 g/ml showed the widest diameter of clear zone of 9.23 ± 0.15 mm. Thus, quercetin at this concentration was used to treat E. coli top 10 in nutrient broth at 37 °C, 130 rpm for 2 days. Considering the result, there was the growth of E. coli top 10 in control but not in the treated group at all. Hence, the quercetin treated culture could not be used for plasmid isolation and agarose gel electrophoresis. In the future, in order to observe the plasmid degradation, finding the optimal concentration of quercetin must be required.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของสารสกัดอย่างหยาบจากพรอพอลิสของชันโรง Tetragonula laeviceps ที่มีต่อการย่อยสลายดีเอ็นเอของแบคทีเรีย Escherichia colien_US
dc.title.alternativeEffect of crude extract of propolis from Tetragonula laeviceps on DNA degradation of bacteria Escherichia colien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phichamon Ka_Se_2561.pdf906.54 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.