Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65702
Title: การประยุกต์ระบบสารสนเทศปริภูมิ สำหรับการจัดการห้องเรียนของคณะวิศวกรรมศาสตร์
Other Titles: Application of spatial information system for classroom management of faculty of engineering
Authors: พัชรียา เลาสูงเนิน
Advisors: วิชัย เยี่ยงวีรชน
เสถียร วงศ์สารเสริฐ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: [email protected], [email protected]
ไม่มีข้อมูล
Subjects: การจัดการเทศะ
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
การจัดการชั้นเรียน
ห้องเรียน
Space management
Geographic information systems
Classroom management
Classrooms
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา ออกแบบ และประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศปริภูมิในการบริหารจัดการห้องเรียนร่วมกับแบบจำลองการจัดตารางสอนด้วยโปรแกรมเผยรหัสโทกา ระบบที่พัฒนาสามารถใช้งานผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบสารสนเทศปริภูมิออกแบบให้มีการเชื่อมโยงระหว่างผังห้องและผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดตารางสอนด้วยมือ และการจัดตารางสอนด้วยโปรแกรมเผยรหัสโทกา การทำงานของระบบสามารถสอบถามข้อมูลอาคารเรียน ห้องเรียนวิชาเรียน และตารางสอน การเข้าถึงข้อมูลสามารถใช้งานได้ตามสิทธิ์ ผลการทดสอบระบบงานพบว่า โปรแกรมสามารถตอบสนองการใช้งานผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การประยุกต์ระบบสารสนเทศปริภูมิในการจัดห้องเรียนสามารถนำมาช่วยในการบริหารจัดการพื้นที่ในส่วนของการแสดงแผนผังการใช้อาคารในรูปกราฟิก การแสดงผังการใช้ห้องด้วยเฉดสี การแสดงข้อมูลขนาดพื้นที่ รวมทั้งสามารถหาอัตราการใช้ห้องที่ได้จากการจัดตารางสอนสำหรับเป็นข้อมูลเพื่อช่วยในการนำไปบริหารจัดการห้องเรียนในอนาคต สำหรับแนวทางการนำแบบจำลองการจัดตารางสอนด้วยโปรแกรมเผยรหัสโทกามาใช้ พบว่ายังไม่มีความเหมาะสมเพียงพอในการนำมาใช้ เนื่องจากระบบโปรแกรมและเงื่อนไขการใช้ข้อมูลมีความซับซ้อนในการใช้งาน
Other Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา ออกแบบ และประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศปริภูมิในการบริหารจัดการห้องเรียนร่วมกับแบบจำลองการจัดตารางสอนด้วยโปรแกรมเผยรหัสโทกา ระบบที่พัฒนาสามารถใช้งานผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบสารสนเทศปริภูมิออกแบบให้มีการเชื่อมโยงระหว่างผังห้องและผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดตารางสอนด้วยมือ และการจัดตารางสอนด้วยโปรแกรมเผยรหัสโทกา การทำงานของระบบสามารถสอบถามข้อมูลอาคารเรียน ห้องเรียนวิชาเรียน และตารางสอน การเข้าถึงข้อมูลสามารถใช้งานได้ตามสิทธิ์ ผลการทดสอบระบบงานพบว่า โปรแกรมสามารถตอบสนองการใช้งานผู้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การประยุกต์ระบบสารสนเทศปริภูมิในการจัดห้องเรียนสามารถนำมาช่วยในการบริหารจัดการพื้นที่ในส่วนของการแสดงแผนผังการใช้อาคารในรูปกราฟิก การแสดงผังการใช้ห้องด้วยเฉดสี การแสดงข้อมูลขนาดพื้นที่ รวมทั้งสามารถหาอัตราการใช้ห้องที่ได้จากการจัดตารางสอนสำหรับเป็นข้อมูลเพื่อช่วยในการนำไปบริหารจัดการห้องเรียนในอนาคต สำหรับแนวทางการนำแบบจำลองการจัดตารางสอนด้วยโปรแกรมเผยรหัสโทกามาใช้ พบว่ายังไม่มีความเหมาะสมเพียงพอในการนำมาใช้ เนื่องจากระบบโปรแกรมและเงื่อนไขการใช้ข้อมูลมีความซับซ้อนในการใช้งาน
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมสำรวจ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65702
ISBN: 9741747543
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Patchareeya_la_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อและสารบัญ829.83 kBAdobe PDFView/Open
Patchareeya_la_ch1_p.pdfบทที่ 1671.74 kBAdobe PDFView/Open
Patchareeya_la_ch2_p.pdfบทที่ 2787.51 kBAdobe PDFView/Open
Patchareeya_la_ch3_p.pdfบทที่ 3926.84 kBAdobe PDFView/Open
Patchareeya_la_ch4_p.pdfบทที่ 41.24 MBAdobe PDFView/Open
Patchareeya_la_ch5_p.pdfบทที่ 52.38 MBAdobe PDFView/Open
Patchareeya_la_ch6_p.pdfบทที่ 6961.92 kBAdobe PDFView/Open
Patchareeya_la_ch7_p.pdfบทที่ 7667.6 kBAdobe PDFView/Open
Patchareeya_la_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.