Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65798
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมหวัง พิธิยานุวัฒน์-
dc.contributor.advisorนิรันดร์ แสงสวัสดิ์-
dc.contributor.authorเพียงพนอ เปลี่ยนดวง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-15T11:53:07Z-
dc.date.available2020-05-15T11:53:07Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312403-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65798-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรดัดสรร ซึ่งส่งผดต่อระดับเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และเปรียบเทียบระดับเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แยกตามตัวแปรคัดสรรที่กำหนดไว้ โดยกลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2544 จำนวน 600 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบวัคเชาวน์อารมณ์ และแบบสอบถามรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเคียว และใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพทุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเชาวน์อารมณ์กับ เพศ อายุ การอบรมเลี้ยงดู สายการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์พทุคูณ สรุปผลจากการวิจัยได้ว่าเชาวน์อารมณ์สามารถทำนายได้โดยใช้ การอบรมเลี้ยงดู สายการเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงไม่ต่างกัน 3. ค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนเมื่อจำแนกตามอายุไม่ต่างกัน 4. นักเรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบผสมผสานระหว่างการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยและแบบให้ความคุ้มครองมีค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์อารมณ์สูงสุด ในขณะที่นักเรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบทอดทิ้งมีค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์อารมณ์ตํ่าสุด 5. ค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนที่เรียนสายวิทยาศาสตร์มีค่าตํ่าที่สุด ในขณะที่นักเรียนที่เรียนสายศิลป์มีภาษามีค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์อารมณ์สูงที่สุด 6. นักเรียนกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมอยู่ระหว่าง 2.01 ถึง 3.00 มีค่าเฉลี่ยของระดับเชาวน์อารมณ์สูงสุดรองลงมาคือกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมสูงกว่า 3.01 และนักเรียนกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยตํ่ากว่า 2.00 มีระดับเชาวน์อารมณ์ตํ่าสุด-
dc.description.abstractalternativeThe Objectives of this research are to study selected variables affecting levels of emotional intelligence, due to set variables, of upper secondary school students in Bangkok metropolis. The samples are 600 high school students in Bangkok metropolis, academic year 2001. Research instruments comprise an emotional intelligence scale and a questionnaire on a brought up method. The statistics used in this study are one-way analysis of variance, and multiple-linear regression. The findings are: 1. Using multiple-linear regression to analyze the relationship between emotional intelligence to gender, age, brought-up method, field of study, and learning achievement can confer that we can predict level of emotional intelligence by using brought-up method, field of study, and learning achievement 2. Mean of the level of emotional intelligence of male and female students is insignificant. 3. Mean of the level of emotional intelligence of students in the different age group is insignificant. 4. The students who are brought up in the mixture means of democracy, protection and rejection have highest level of emotional intelligence, however it shows totally different in the rejection group which held the lowest level. 5. Mean of the level of emotional intelligence of students emphasizing in science studies is the lowest whilst ones’ in language art studies is highest. 6. Mean of the level of emotional intelligence of students with the grade point average between 2.01 to 3.00 is highest, ones’ between 3.01-4.00 is second and ones’ under 2.00 is lowest.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.278-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์en_US
dc.subjectเด็ก--การเลี้ยงดูen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--ไทยen_US
dc.subjectEmotional intelligenceen_US
dc.subjectHigh school students--Thailanden_US
dc.subjectChild rearingen_US
dc.titleการศึกษาตัวแปรคัดสรรที่ส่งผลต่อระดับเชาว์อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeA study of selected variables affecting emotional intelligence level of upper secondary school students in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.278-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piengpanor_pl_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ874.28 kBAdobe PDFView/Open
Piengpanor_pl_ch1_p.pdfบทที่ 1902.78 kBAdobe PDFView/Open
Piengpanor_pl_ch2_p.pdfบทที่ 22.14 MBAdobe PDFView/Open
Piengpanor_pl_ch3_p.pdfบทที่ 3866.55 kBAdobe PDFView/Open
Piengpanor_pl_ch4_p.pdfบทที่ 4876.08 kBAdobe PDFView/Open
Piengpanor_pl_ch5_p.pdfบทที่ 5854.61 kBAdobe PDFView/Open
Piengpanor_pl_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.