Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีระพนธ์ โสพัศสถิตย์-
dc.contributor.authorนิวิตถ์ นันทนิวัตติกุล-
dc.contributor.authorกชพร วัชรประภาพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-29T13:59:32Z-
dc.date.available2020-05-29T13:59:32Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66061-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractปัจจุบันผู้คนเริ่มให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพและนิยมการออกกำลังกายมากขึ้น ทำให้ระบบฟิตเนสเริ่มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการออกกำลังกายในชีวิตประจำวัน ที่พักอาศัยหลายแห่งรวมถึงคอนโดมีห้องให้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกหรือฟิตเนสติดตั้งอยู่ภายในเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้พักอยู่อาศัยภายในโครงการได้เข้ามาใช้บริการ อย่างไรก็ตามเนื่องจากผู้พักอาศัยมีจำนวนมากทำให้สิ่งอำนวยความสะดวกไม่เพียงพอต่อการใช้งานทำให้การใช้งานต้องสลับเปลี่ยนกันใช้ ผู้จัดทำได้พัฒนาโครงงานโปรแกรมตรวจจับวัตถุจากกล้องวงจรปิดเพื่อช่วยในการควบคุมและให้บริการฟิตเนสเพื่ออำนวยความสะดวกต่อผู้ใช้งาน โดยการวิเคราะห์การตรวจจับภาพวัตถุจากไฟล์วิดีโอภาพเคลื่อนไหวจากกล้องวงจรปิดแบบเรียลไทม์ด้วยวิธีการประมวลผลภาพโดยการใช้การเรียนรู้เชิงลึกตรวจจับภาพคนที่เข้ามาใช้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่ให้บริการภายในห้องฟิตเนสและทำการแสดงผลสถานะเครื่องออกกำลังกายแต่ละเครื่องภายในห้องฟิตเนสผ่านแอปพลิเคชัน มือถือโดยแสดงสถานะว่าขณะนั้นมีผู้ใช้งานอยู่หรือไม่ ทำให้ผู้ใช้งานสามารถทราบถึงสถานการณ์ ใช้งาน ณ ขณะนั้นโดยไม่ต้องเข้าไปดูด้วยตนเองในพื้นที่บริการและสามารถตัดสินใจเข้าไปใช้บริการต่อไปได้ด้วยตนเองได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, people are becoming more health concern and focus on healthy lifestyles, resulting in high demands for fitness facilities as a part of their daily exercise. Many residential establishments, such as condominium, have fitness facilities on their premises to facilitate their residents. In this project, we develop a program to detect objects from CCTV to manage fitness services to residents. The principal technique is analyzing the image files obtained from real-time CCTV using image processing methods. These image files are further processed with the help of deep learning technique to capture images of people who using the facilities in the fitness room. The availability of each fitness equipment in the room is displayed via the mobile application. This will enable the users to see up-to-minute status of equipment usage without having to constantly check its availability in person, thereby they can decide when to use the equipment at their own pace.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleโปรแกรมตรวจจับวัตถุจากกล้องวงจรปิดเพื่อช่วยในการควบคุมและให้บริการฟิตเนสen_US
dc.title.alternativeReal-time object detection program to help automate and provide service for gymen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nivit_N_Se_2561.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.