Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66217
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรชัย พรภคกุล | - |
dc.contributor.author | ไพลิน ภูมิคอนสาร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-07T00:45:56Z | - |
dc.date.available | 2020-06-07T00:45:56Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66217 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไลเปสและแอลฟากลูโคซิเดสของสารสกัดเอทิลแอซิเตตและสารสกัดเมทานอลจากเห็ดตับเต่า คือ และแยกสารออกฤทธิ์ดังกล่าวด้วยเทคนิคทางโครมาโทกราฟี สารสกัดเอทิลแอซิเตตที่ความเข้มข้น 25 mg/mL มีค่าการยับยั้งเอนไซม์ไลเปส 78 % และที่ความเข้มข้น 1 mg/mL มีค่าการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส 20 % ส่วนสารสกัดเมทานอลที่ความเข้มข้น 25 mg/mL มีค่าการยับยั้งเอนไซม์ไลเปส 99 % และที่ความเข้มข้น 10 mg/mL มีค่าการยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดส 38 % นั่นคือ สารสกัดเมทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไลเปสมากกว่าสารสกัดเอทิลแอซิเตต แต่สารสกัดเอทิลแอซิเตตมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสมากกว่าสารสกัดเมทานอล นอกจากนี้ได้นำสารสกัดทั้งสองมาทดสอบการเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งทั้ง 5 ชนิดและเซลล์ปกติ (fibroblast cell) พบว่าสารสกัดเอทิลอะซิเตตมีฤทธิ์การยับยั้งเซลล์มะเร็งปอด (Chago-K1) และตับ (Hep-G2) โดยมีฤทธิ์การยับยั้งเซลล์มะเร็งปอด IC₅₀ เท่ากับ 32 และ 40 μg/mL ตามลำดับ และกากของส่วนสกัดหยาบเมทานอลมีฤทธิ์การยับยั้งเซลล์มะเร็งปอด IC₅₀ เท่ากับ 79 μg/mL การแยกสารบริสุทธิ์จากสกัดเอทิลแอซิเตตโดยเทคนิคโครมาโทกราฟีแบบคอลัมน์ (column chromatography)ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากความไม่คงสภาพของสารในขั้นตอนการแยก อย่างไรก็ตาม จาก 1H-NMR spectroscopy บ่งชี้ว่าสารสกัดเอทิลอะซิเตตประกอบด้วยสารในกลุ่มเทอร์พีนอยด์และสเตียรอยด์ (terpenoid and steroid compounds) | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to investigate the lipase and α-Glucosidase inhibitory activity of the ethyl acetate and methanol extracts from Thaeogyroporus porentosus, and also isolate the bioactive compounds. The results showed that ethyl acetate extract at 25 and 1 mg/mL display lipase activity of 78% and α-Glucosidase inhibitory of 20% respectively, which methanol extracts at 25 and 10 mg/mL displayed an lipase inhibitory activity of 99 and α-Glucosidase inhibitory activity of 38 % respectively. The extract was examined of againt 5 cancer cell line (Lung cancer cell (Chago-K1), Gastric cancer cell (KATO-III), Hepatic cancer cell (Hep-G2 ), Breast cancer cell (BT474), Intestine cancer cell (SW620) and Fibroblast cell (Wi-38)). In addition, the ethyl acetate extract exhibited cytotoxic activity against lung and hepatic cancer cells which its IC₅₀ showed 32 and 40 μg/mL and the methanol extract exhibited cytotoxic activity against lung cancer cells which its IC₅₀ showed 79 μg/mL. The ethyl acetate crude extract was thus isolated by column chromatography technique. Due to unstable bioactive compounds of the extract isolation process was unsuccessful. However, ¹H-NMR data revealed that ethyl acetate extract compound of terpenoids and steroids. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การสกัดสารยับยั้งเอนไซม์ไลเปสและแอลฟากลูโคซิเดสจากเห็ดตับเต่า | en_US |
dc.title.alternative | Extraction of Pancreatic Lipase and α-Glucosidase Inhibitors from Thaeogyroporus porentosus | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pailin Ph_Se_2559.pdf | 2.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.