Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66232
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิษณุ เสงี่ยมพงษ์ | - |
dc.contributor.author | ชาคริต อ่อนเมือง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-09T01:18:48Z | - |
dc.date.available | 2020-06-09T01:18:48Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9741703139 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66232 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรปลากะตัก โดยมีสมมติฐานในการวิจัยคือ การกำหนดนโยบายการทำประมงปลากะตักของรัฐมีหลักเหตุผลประกอบน้อยมากแทบจะไม่ปรากฏ ผลการศึกษาปรากฎว่า รัฐมีแนวโน้มในการใช้เหตุผลในการกำหนดนโยบายการทำประมงปลากะตักน้อยมาก เมื่อรัฐนำนโยบายดังกล่าวไปปฏิบัติได้ทำให้ ต้นทุนทางสังคมและสิ่งแวดล้อมต้องสูญเสียไปมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับและนับวันจะรุนแรงมากขึ้นเป็นลำดับผลกระทบที่เกิดขึ้นนำไปสู่ปัญหาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง สาเหตุที่ทำให้การกำหนดนโยบายมีแนวโน้มประกอบด้วยหลักเหตุผลน้อยมากเนื่องจาก รัฐให้ความสำคัญกับการ พัฒนาเศรษฐกิจมากกว่าปัญหาความขัดแย้งในการทำประมงปลาปะตักที่เกิดขึ้น รัฐในฐานะเป็นผู้กำหนดและวางแนวทางการใช้ประโยชน์ทรัพยากรประมงทะเล ได้ให้ความสำคัญกับทรัพยากรปลากะตักในฐานะเป็นที่มาของรายได้และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็นอันดับสำคัญ ส่วนปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรเป็นสิ่งสำคัญในอันดับรองลงไป โดยไม่คำนึงถึงต้นทุนทางสังคมที่ต้องเสียไป ส่วนหนึ่งเป็นเพราะรัฐได้รวมศูนย์อำนาจในการจัดการทรัพยากรและออกระเบียบกฎเกณฑ์ในการใช้ประโยชน์แต่ผู้เดียว นอกจากนั้นรัฐไม่เปิดโอกาลให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและจัดการทรัพยากรด้วยตนเอง นอกจากผลการศึกษาดังกล่าวแล้ว ในการศึกษาครั้งนี้ยังพบว่า การนำแนวคิด การกำหนดนโยบายที่ ยึดหลักเหตุผลมาใช้ในการพิจารณากระบวนการกำหนดนโยบายว่าประกอบ ด้วยหลักเหตุผลหรือไม่นั้น ประสบกับข้อจำกัดในการใช้หลักต้นทุนและผลประโยชน์ในการวิเคราะห์ เช่น การไม่สามารถวัดข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าได้อย่างขัดเจน คุณค่าของแต่ละกลุ่มที่ไม่ลามารถเปรียบเทียบกันได้ เป็นต้น ข้อจำกัดเหล่านี้ทำให้หลักเหตุผลไม่ตายตัว ขึ้นอยู่กับการตีความและประยุกต์ใช้ในแต่ละกรณี | - |
dc.description.abstractalternative | The research aims to study policy making with regard to anchovy fishing. The hypothesis of the research is that the government's policy process of anchovy fishing has tendency to be less than rational. The research found out that the state policy regarding anchovy fishing is not an output of a fully rational process. When the policy is implemented, social and environmental cost is therefore higher than benefits gained. This is because the state has a centralized authority to manage natural resources and generate rules while giving more attention to economic development at a higher extent than anchovy fishing problems. This means that the state as policy formulator regarding the use of marine resources treated anchovy mainly as a source of revenue and economic benefit while the problem from resource consumption was given a less priority. Furthermore 1 the state did not include local communities in its decision making and resource management. This study also found that rational policy making as a concept seems to have limitation due to the inseperable fact and values as well as the problem of its practicality. In addition a rational policy depends largely on the final decision makers who usually are politicians. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ประมง -- ไทย | en_US |
dc.subject | ประมงทะเล | en_US |
dc.subject | ปลากะตัก | en_US |
dc.subject | นโยบายประมง -- ไทย | en_US |
dc.subject | เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม | - |
dc.subject | Fisheries -- Thailand | - |
dc.subject | Anchovies | - |
dc.subject | Fishery policy -- Thailand | - |
dc.subject | Environmental economics | - |
dc.title | การกำหนดนโยบายบนหลักเหตุผล : ศึกษากรณีการทำประมงปลากะตักปั่นไฟ | en_US |
dc.title.alternative | Rational policy making : the case of anchovy fishing with electric lights | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การปกครอง | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected],[email protected] | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chakrit_on_front_p.pdf | 967.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chakrit_on_ch1_p.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chakrit_on_ch2_p.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chakrit_on_ch3_p.pdf | 2.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chakrit_on_ch4_p.pdf | 8.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chakrit_on_ch5_p.pdf | 989.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chakrit_on_back_p.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.