Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66434
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวีร์ โฮเว่น-
dc.contributor.authorพณิฎฐา ดำส่งแสง-
dc.contributor.authorออหทัย จิระรัตนโพธิ์ชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-17T05:20:45Z-
dc.date.available2020-06-17T05:20:45Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66434-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ได้กราฟต์พอลิแอคริลิกเเอซิด (PAA) บรัช บนผิวกระจกโดยอาศัยปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันริเริ่ม จากพื้นผิวผ่านกลไกแบบ Reversible Addition-Fragmentation Chain Transfer (RAFT) ผลการ วิเคราะห์ PAA ที่เกิดขึ้นในสารละลายด้วยเทคนิคโปรตอน-นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์แสดงให้เห็นว่า สามารถควบคุมการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันได้ดี จากนั้นตรึงโปรตีนออสติโอพอนติน (OPN) ลงบนพื้นผิว ที่กราฟต์ด้วย PAA บรัช โดยใช้ EDC/NHS เป็นตัวรีเอเจนต์คู่ควบ ยืนยันการดัดแปรพื้นผิวกระจกแต่ละ ขั้นตอนโดยการวัดมุมสัมผัสของน้ำและเทคนิคฟูเรียทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (FT-IR) การ วิเคราะห์ด้วยเทคนิคเอ็กซ์เรย์โฟโตอิเล็กตรอนสเปกโทรสโกปี (XPS) แสดงให้เห็นว่าปริมาณการตรึง OPN บน พื้นผิวที่กราฟต์ด้วย PAA ขึ้นกับความเข้มข้นของ OPN ในสารละลาย จากการทดลองพบว่าตัวกลางชนิด OM เหมาะแก่การเพาะเลี้ยงเซลล์กระดูกชนิด MC-3T3-E1 เนื่องจากช่วยส่งเสริมให้เกิดการยึดติดและการเจริญของ เซลล์ การวิเคราะห์ด้วยปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส (PCR) ชี้ให้เห็นว่าการแสดงออกของยีนชนิดต่างๆ ได้แก่ คอลลาเจน I (Coll I), อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (ALP), octamer-binding transcription factor 4 (Oct 4), NANOG และ Reduced expression 1 (REX1) ขึ้นกับปริมาณของ OPN ที่ตรึงบนพื้นผิว นำมาซึ่งสมมุติฐานที่ว่า โครงสร้างของ OPN ที่ตรึงบนพื้นผิวอาจจะเปลี่ยนแปลงตามความเข้มข้นของ OPN ในสารละลายที่ใช้ในการ ตรึง โดยสรุปแล้วงานวิจัยนี้ได้แสดงถึงศักยภาพในการนำ OPN ไปประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อกระดูกen_US
dc.description.abstractalternativeIn this research, glass substrates were grafted with poly(acrylic acid) (PAA) brushes via surface-initiated reversible addition-fragmentation chain transfer (RAFT) polymerization. 1H NMR analysis of PAA formed in solution indicated that the polymerization was well-controlled. Osteopontin (OPN) was then immobilized on the surfacegrafted PAA brushes using EDC/NHS as coupling agents. Stepwise surface modification was verified by water contact angle measurements and FT-IR. Analysis by x-ray photoelectron spectroscopy (XPS) suggested that the amount of immobilized OPN on the surface-grafted PAA brushes was concentration-dependent. Osteogenic Medium (OM) was found to be an appropriate media for culturing MC-3T3-E1 cells in that it can promote cell adhesion and differentiation. Polymerase chain reaction (PCR) analysis indicated that expression of the following genes, namely collagen I (Coll I), alkaline phosphatase (ALP), octamer-binding transcription factor 4 (Oct 4), NANOG and Reduced expression 1 (REX1) was dose-dependent implying that the structure of immobilized OPN may be varied as a function of its concentration in solution used for immobilization. Overall, this research has demonstrated that OPN can potentially be used for bone tissue engineering applications.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการตรึงโอพีเอ็นบนพอลิแอคริลิกเเอซิดบรัชที่กราฟบนพื้นผิวเพื่อส่งเสริมการยึดติดและการเจริญของเซลล์กระดูกen_US
dc.title.alternativeOPN immobilization on surface-grafted poly(Acrylic Acid) brushes to promote osteoblast adhesion/proliferationen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2557_14.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.