Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67901
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาลินี วงษ์สิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | วลัยพร ศรีสาธิต | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-15T06:51:53Z | - |
dc.date.available | 2020-09-15T06:51:53Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743347496 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67901 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สองประการคือ 1) เพื่อศึกษาความแตกต่างของการทำงานบ้านแต่ละประเภทในครัวเรือนของผู้สูงอายุ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม และสภาวะสุขภาพกับการทำงานบ้านแต่ละประเภทของผู้สูงอายุ โดยใช้ข้อมูลจากโครงการวิจัยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลให้บริการและกิจกรรมต่าง ๆ แก่ผู้สูงอายุ ซึ่งดำเนินการเก็บข้อมูลในปี พ.ศ. 2538 สำหรับการศึกษาการทำงานบ้านของผู้สูงอายุพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ทำงานบ้าน โดยงานบ้านแต่ละประเภทที่ทำจะแตกต่างกันไปกล่าวคือ ผู้สูงอายุจะทำความสะอาดบ้านมากที่สุด รองลงมาคือ การทำกับข้าว การซัก/รีดเสื้อผ้า และการดูแลเด็กเล็ก ส่วนงานบ้านที่ทำ น้อยที่สุด คือ การซื้อกับข้าว เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม และสภาวะสุขภาพกับการทำงานบ้านแต่ละประเภทของผู้สูงอายุ ปรากฏว่า กิจกรรมการทำกับข้าวมีนัยสำคัญทางสถิติกับตัวแปร เพศ อายุ การทำงานเชิงเศรษฐกิจ โครงสร้างครัวเรือน การมีบุตรอาศัยอยู่บ้านเดียวกัน กิจกรรมการทำกับข้าวมีนัยสำคัญทางสถิติเฉพาะตัวแปรการทำงานเชิงเศรษฐกิจ และกิจกรรมการทำความสะอาดบ้านจะมีนัยสำคัญทางสถิติในตัวแปร อายุ สถาน ภาพสมรส การทำงานเชิงเศรษฐกิจ โครงสร้างครัวเรือน การมีบุตรอาศัยอยู่บ้านเดียวกัน และสภาวะสุขภาพ สำหรับกิจกรรมการซัก/รีดเสื้อผ้ามีนัยสำคัญทางสถิติในตัวแปร เพศ อายุ สถานภาพสมรส การทำงานเชิงเศรษฐกิจ โครงสร้างครัวเรือน การมีบุตรอาศัยอยู่บ้านเดียว กัน เขตที่อยู่อาศัย และสภาวะสุขภาพ ส่วนการมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กเล็กมีความเกี่ยวข้อง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในตัวแปร เพศ อายุ และโครงสร้างครัวเรือน | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to investigate the pattern of engagement in housework of the elderly and the relationship among socio-economic characteristics, health status and engagement in housework of the elderly. The date used in this study were from the project entitled “Community Participation in Providing Care, Services, and Activities for Thai Elderly” in 1995. The results indicated that most of the elderly still engaged in housework. The most frequently mentioned activities were house cleaning, cooking, laundering, taking care of children, respectively. The least frequently mentioned activity was buying food. When considering among socio-economic and demographic characteristics, health status, and engagement in housework of the elderly, the results indicated that engagement in cooking was statistically significant related to sex, age, employment status, household structure and living arrangement. The engagement in buying food was significantly associated with employment status. The results also showed that engagement in house cleaning was significantly related to age, marital status, employment status, household structure, living arrangement and health status. The engagement in laundering was significantly related to sex, age, marital status, employment status, household structure, living arrangement, place of residence, and health status. Moreover, the result also indicated that the engagement in taking care of children was significantly related to sex, age, and household structure. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ -- การดำเนินชีวิต | en_US |
dc.subject | การจัดการบ้าน | en_US |
dc.subject | Older people -- Conduct of life | en_US |
dc.subject | Home economics | en_US |
dc.title | การทำงานบ้านของผู้สูงอายุในโครงการนำร่องของกรมประชาสงเคราะห์ | en_US |
dc.title.alternative | Engagement in housework of the elderly under the pilot project of the Department of Public Welfare | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สังคมวิทยามหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ประชากรศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Walaiporn_sr_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 901.94 kB | Adobe PDF | View/Open |
Walaiporn_sr_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 2.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Walaiporn_sr_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Walaiporn_sr_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Walaiporn_sr_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 959.6 kB | Adobe PDF | View/Open |
Walaiporn_sr_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.