Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6824
Title: การกระจายและการนำพาของสารมลพิษ บางชนิดในเอสทูรี : รายงานผลการวิจัย
Other Titles: Distribution and transport of selected pollutants in the estuary
Authors: วิไลวรรณ อุทุมพฤกษ์พร
มนุวดี หังสพฤกษ์
ศิริชัย ธรรมวานิช
Email: [email protected]
[email protected], [email protected]
[email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: เอสทูรี
สารมลพิษ -- ไทย
แม่น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำบางปะกง
Issue Date: 2533
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาการกระจายอำนาจของธาตุอาหารไนเตรด ไนไตรด์ แอมโมเนีย ฟอสเฟต ซิลิเคต และโลหะปริมาณน้อยแคดเมียม ตะกั่ว สังกะสี ของแม่น้ำเจ้าพระยา และบางปะกงใน 2 ฤดู คือ ฤดูน้ำมากและฤดูน้ำน้อย ธาตุอาหารที่พบในแม่น้ำเจ้าพระยามีความเข้มข้นสูงกว่าในแม่น้ำบางปะกง โดยเฉพาะในฤดูน้ำมากพบว่าแม่น้ำเจ้าพระยามีค่าสูงมาก อันน่าจะเนื่องมาจากการใช้ปุ๋ยเพื่อการเกษตรกรรมในบริเวณลุ่มน้ำตอนบน โลหะปริมาณน้อยที่พบในทั้งสองแม่น้ำส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปตะกอนแขวนลอย และปริมาณที่พบในทั้งสองแม่น้ำก็ไม่แตกต่างกันมากนัก แต่โลหะปริมาณน้อยที่พบในตะกอนแม่น้ำเจ้าพระยาจะมีค่าสูงกว่าตะกอนของแม่น้ำบางปะกงโดยเฉพาะตะกอนที่เก็บมาจาก บริเวณราษฎร์บูรณะ พระประแดง ซึ่งเป็นบริเวณที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมาก จากการกำหนดสถานีใกล้ปากแม่น้ำแล้วทำการเก็บตัวอย่างให้ครบวงจรน้ำขึ้นน้ำลง ซึ่งเปรียบเสมือนการทดลองผสมน้ำจืดจากแม่น้ำและน้ำเค็มจากทะเลพบว่า ปริมาณธาตุอาหารในแม่น้ำเจ้าพระยาจะแสดงพฤติกรรมคอนเซอเวทีฟ คือ ลดลงเมื่อความเค็มเพิ่มขึ้นเป็นเส้นตรง แต่ในแม่น้ำบางปะกงมองเห็นพฤติกรรมเช่นนี้ไม่ชัดเจนนัก อันเนื่องมาจากการกำหนดสถานีที่ศึกษาในแม่น้ำบางปะกงไม่เหมาะสมคือ อยู่ใกล้ตลาดจึงได้รับอิทธิพลจากชุมชนในบริเวณนั้น โลหะปริมาณน้อยนั้น พบว่า ในแม่น้ำเจ้าพระยาความเข้มข้นของโลหะในตะกอนแขวนลอยมีค่าสูงเมื่อน้ำมีความเค็ม < 10% ส่วนในแม่น้ำบางปะกงจะพบในน้ำที่มีความเค็ม <2% ซึ่งความเค็มดังกล่าวจะเลื่อนขึ้นลงตามลำน้ำขึ้นกับอิทธิพลของน้ำขึ้นน้ำลงและฤดูกาล ดังนั้นการตกตะกอนของโลหะปริมาณน้อยย่อมเกิดขึ้นได้ตลอดลำน้ำที่น้ำทะเลเข้าถึง ซึ่งเห็นได้จากปริมาณโลหะในตะกอนที่มีค่าค่อนข้างสูงตลอดลำน้ำ
Other Abstract: Distributions of nutrients: nitrate, nitrite, ammonia, phosphate, silicate and trace metals: cadmium, chromium, lead, zinc were studied in the Cho Phraya and Bang Pakong Estuaries. Concentrations of nutrients in the Cho Phraya River were higher than in the Bang Pakong River especially in the high discharge period due to extensive use of fertilizers for agriculture in the upper area of the watershed. Trace metals were mostly found in particulate from and concentrations in water of both rivers were not much different. However, trace metals in the Cho Phraya sediments were higher than in the Bang Pakong due to more industries along the Cho Phraya River, particularly in Ratburaba and Prapradaeng Districts. Sampling of water at the station near the river mouths through the tidal cycle served as a mixing experiment of river water and seawater. The result of the study of this type indicated conservative properties of all nutrients in the Cho Phraya River. In the Bang Pakong River such behavior could not be clearly observed due to the influence of human community near the sampling site. In the Cho Phraya River there were maximum peaks of particulate trace metals in water having salinities < 10% while in the Bang Pakong River these appeared at salinity <2%. These ranges of salinity move up and down along the estuaries due to the effect of tidal current and fresh water flux by which it can be observed from the high content of metal in the sediments along both estuaries.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6824
Type: Technical Report
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wilaiwan(dis).pdf7.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.