Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6861
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพิชชา จันทรโยธา-
dc.contributor.advisorจเด็จ เย็นใจ-
dc.contributor.authorนันทนิช จิตต์ธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-13T08:53:07Z-
dc.date.available2008-05-13T08:53:07Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741417535-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6861-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษาความแรงรังสีจำเพาะของเรเดียมในกากที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมภายในประเทศ และ วิเคราะห์หาสหสัมพันธ์กับปริมาณธาตุแบเรียม สทรอนเชียม และแคลเซียม ตัวอย่างที่กากใช้ในการวิจัย คือ ตัวอย่างสลัดจ์ และตะกรัน จากแหล่งก๊าซธรรมชาติบงกช และ แหล่งน้ำมันสิริกิติ์ ได้ทำการวิเคราะห์หาความแรงรังสีจำเพาะของเรเดียม-226 และ เรเดียม-228 ในตัวอย่างสลัดจ์ และตะกรัน ด้วยเทคนิคแกมมาสเปกโตรเมตรี และวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีด้วยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ ผลที่ได้พบว่า ในตัวอย่างสลัดจ์มีค่าเฉลี่ยของความแรงรังสีจำเพาะของเรเดียม-226 และ เรเดียม-228 อยู่ในช่วง 0.27 - 2.45 และ 0.35 - 2.06 พิโคคูรีต่อกรัม ตามลำดับ สำหรับค่าเฉลี่ยของความแรงรังสีจำเพาะของเรเดียมในตัวอย่างตะกรันพบว่ามีค่าความแรงรังสีจำเพาะเรเดียม-226 และ เรเดียม-228 อยู่ในช่วง 0.25 - 119.91 และ 0.31 - 140.07 พิโคคูรีต่อกรัม ตามลำดับ โดยพบตัวอย่างตะกรัน 2 ตัวอย่างจากแหล่งสิริกิติ์ มีค่าความแรงรังสีสูงกว่าที่มีอยู่ตามดินในธรรมชาติของแหล่งผลิตเองถึง 100 เท่า นอกจากนี้ ยังพบความมีสหสัมพันธ์ในทางบวกระหว่างระดับปริมาณของเรเดียมกับปริมาณธาตุ แบเรียม สทรอนเชียม และแคลเซียมในตัวอย่างสลัดจ์และตะกรันen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the specific activity of petroleum waste from the petroleum industry in Thailand, as well as its correlation to barium, strontium and calcium contents. The petroleum waste samples include sludge and scale from Bongkot gas field and Sirikit oil field. In this study, the specific activities of [superscript 226]Ra and [superscript 228]Ra in sludge and scale samples were determined by gamma-spectroscopy technique. Their chemical contents were analyzed by X-ray fluorescence technique. It was shown that in sludge samples, the average specific activities of [superscript 226]Ra and [superscript 228]Ra range from 0.27-2.45 and 0.35-2.06 pCi/g, respectively. The average specific activities of [superscript 226]Ra and [superscript 228]Ra in scale samples range from 0.25-119.91 and 0.31-140.07 pCi/g, respectively. Two samples of scale from Sirikit field had average specific activity level of radium 100 times higher than the level that found in the local soil. In addition, the positive correlation was found between the specific activity level of radium and chemical composition; barium, strontium and calcium; contained in sludge and scale sample.en
dc.format.extent1923109 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1127-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสารกัมมันตรังสีen
dc.subjectสหสัมพันธ์ (สถิติ)en
dc.subjectอุตสาหกรรมปิโตรเลียมen
dc.subjectเรเดียมen
dc.titleการหาปริมาณเรเดียมและสหสัมพันธ์กับองค์ประกอบทางเคมีในกากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมen
dc.title.alternativeDetermination of radium content and its correlation with chemical composition in petroleum wasteen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1127-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuntanich.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.