Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6902
Title: การศึกษากระบวนการสกัดของเหลวที่จะเป็นประโยชน์ต่อการอุตสาหกรรมในประเทศไทย
Other Titles: Liquid extraction studies with particular reference to industrial applications in Thailand
Authors: วรพัฒน์ อรรถยุกติ
Email: [email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Subjects: การสกัดของเหลว
ของเหลว
การสกัด (เคมี)
Issue Date: 2526
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ส่วนที่หนึ่งของ โครงการวิจัยนี้ได้มุ่งสำรวจสถานภาพการใช้กระบวนการ การสกัดของเหลวที่ใช้กันทั่วไป ในส่วนที่สองผู้วิจัยได้เสนอแนววิธีในการคำนวณขนาดของคอลัมน์สามประเภทอันได้แก่ คอลัมน์แบบพัลส์แพค พัลส์แผ่นรูพรุน และโรเดติงดิสก์คอนแตกเตอร์ ผู้วิจัยได้เสนอสมการความจุสูงสุดที่สามารถนำมาหา เส้นผ่านศูนย์กลางของคอลัมน์ได้ และได้เสนอสมการและกราฟที่สามารถใช้หาสัมประสิทธิ์การผสมย้อนกลับในคอลัมน์ทั้งสามประเภท และได้เสนอแนววิธีในการวัดสัมประสิทธิ์การถ่ายเทมวลสารในคอลัมน์ขนาดห้องปฏิบัติการ เพื่อนำตัวเลขสัมประสิทธิ์การผสมย้อนกลับ และตัวเลขสัมประสิทธิ์การถ่ายเทมวลสารมาใช้คำนวณประสิทธิภาพของคอลัมน์ และในที่สุดเพื่อคำนวณความสูงของคอลัมน์ ผู้วิจัยได้ศึกษาคุณสมบัติการเปียกตัวของวัสดุภายในคอลัมน์ และพบว่ามีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของคอลัมน์ ในการนำผลการทดลองวัดความจุสูงสุดในคอลัมน์บางประเภทเพื่อเปรียบเทียบกับสมการต่างๆ พบว่า ในส่วนของผลการทดลองที่ได้นำมาใช้ความจุสูงสุดที่หาได้ไม่สอดคล้องกับสมการ จากการศึกษาระบบ H.E.T.P. พบว่าต้องใช้ความระมัดระวังมากในการใช้เพราะ อาจจะให้ความสูงของคอลัมน์ที่ไม่เพียงพอแก่งานที่ต้องทำ
Other Abstract: The first part of the report surveys liquid – liquid extraction processes that are known to exist. The second part of the report concerns the calculation of three types of liquid extraction columns, namely the pulsed packed column, the pulsed perforated plate column and the rotating disk column. Flooding data correlations and backmixing data correlations found in the literature are presented. A methodology of height scale up of extraction columns is presented based on measurements of mass transfer coefficients of a pilot column based on the diffusion model. Inner column material wettability was found to influence column efficiencies. Comparisons of experimental flooding data did not match the published data for many experiments. Finally a study of the H.E.T.P. calculation method indicated that H.E.T.P. tends to give erroneous column height requirements but the method should not be discarded.
Description: โครงการวิจัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยและพัฒนาของคณะวิศวกรรมศาสตร์) ; เลขที่ 25-IE-2521
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6902
Type: Technical Report
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Woraphat_liquid.pdf14.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.